การภาษีอากร 2

Taxation 2

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อศึกษาแนวคิดและความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชีและการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการเพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร การปรับปรุงกำไร ทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง จริยธรรมของวิชาชีพ รวมทั้งศึกษาภาษีเงินได้รอตัดบัญชีและความรู้พื้นฐานเรื่องการวางแผนภาษี
รวมถึงความรับผิดชอบตามมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละด้านดังนี้ (ตาม Domain of Leaning)
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
ข้อ 1 (1) มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
ข้อ 1 (2) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
ด้านความรู้
ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
ข้อ 2 (2) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 2 (4) สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัยและวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ด้านทักษะทางปัญญา
ข้อ 3 (1) สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีการซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
ข้อ 3 (2) สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กันใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
ข้อ 3 (3) สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ข้อ 4 (1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 4 (2) มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
ข้อ 4 (3) มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
 
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อ 5 (1) มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
ข้อ 5 (2) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
ข้อ 5 (3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมายและการสื่อสารสารสนเทศ
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาในหลักสูตรและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
 
1. คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดและความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชีและการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการเพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร การปรับปรุงกำไร ทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง จริยธรรมของวิชาชีพ รวมทั้งศึกษาภาษีเงินได้รอตัดบัญชีและความรู้พื้นฐานเรื่องการวางแผนภาษี
จำนวนชั่วโมงที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการโดยกำหนดเวลาไว้วันละ 1 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 15.30-16.30 น.
 
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา
ข้อ 1 (1) มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
ข้อ 1 (2) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
วิธีการสอน

เน้นความสำคัญของการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน ให้นักศึกษาปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อตกลงของรายวิชา
วิธีการประเมินผล

ประเมินจากการตรงต่อเวลาของการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อตกลงต่างๆ
ด้านความรู้
ความรู้ที่ต้องได้รับ
ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
ข้อ 2 (2) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 2 (4) สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัยและวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
วิธีการสอน

เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล

ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ด้านทักษะทางปัญญา
ทักษะทางปัญญาที่ต้องได้รับการพัฒนา
ข้อ 3 (1) สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีการซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
ข้อ 3 (2) สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กันใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
ข้อ 3 (3) สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
วิธีการสอน

จัดการเรียนการสอนโดยให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล เรียนรู้จากกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล
วิธีการประเมินผล

ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
ข้อ 4 (1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 4 (2) มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
ข้อ 4 (3) มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
วิธีการสอน

มอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่มและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
วิธีการประเมิน

ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการนำเสนองานหน้าเรียน สังเกตการมีส่วนในการทำงานกลุ่ม
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ทักษาการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีที่ต้องพัฒนา
ข้อ 5 (1) มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
ข้อ 5 (2) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
ข้อ 5 (3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมายและการสื่อสารสารสนเทศ
วิธีการสอน

ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและกรณีศึกษารวมถึงการวิเคราะห์ผลที่ได้จากการคำนวณ ให้นักศึกษานำเสนองานหน้าชั้นเรียน
วิธีการประเมินผล

ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2. การประเมินผล กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมินผล สัปดาห์ ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 ข้อ 1 (1) (2) ข้อ 2 (1) (2) (4) ข้อ 3 (1) (2) (3) ข้อ 4 (1) (2) (3) ข้อ 5 (1) (2) (3) - ทำแบบทดสอบกลางภาคบทที่ 1 – 2 - ทำแบบทดสอบปลายภาคบทที่ 3 - 6 9 17 35 คะแนน 35 คะแนน 2 ข้อ 1 (1) (2) ข้อ 2 (1) (2) (4) ข้อ 3 (1) (2) (3) ข้อ 4 (1) (2) (3) ข้อ 5 (1) (2) (3) - ประเมินจากการตรงต่อเวลาฯ - ประเมินจากงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30 คะแนน หมายเหตุ: 1) ประเมินผลการเรียนรู้ตามแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ใน มคอ.2 (Domain of Learning) 2) ประเมินในภาพรวมของ Domain of Leaning 3. เกณฑ์การประเมิน 1) นักศึกษาจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 80% ของเวลาเรียนตลอดภาคเรียน 2) รายวิชานี้ใช้การตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ โดยพิจารณาจากคะแนนรวม ดังนี้ คะแนนรวม เกรด / ผลการศึกษา ตั้งแต่ 80 คะแนน ขึ้นไป A (ดีเยี่ยม) 75 – 79 คะแนน B+ (ดีมาก) 70 – 74 คะแนน B (ดี) 65 – 69 คะแนน C+ (ดีพอใช้) 60 – 64 คะแนน C (พอใช้) 55 – 59 คะแนน D+ (อ่อน) 50 – 54 คะแนน D (อ่อนมาก) ต่ำกว่า 50 คะแนน F (ตก)
หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนหลัก

เอกสารประกอบการสอน
หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอน ที่สำคัญ

กรมสรรพากร. 2558. ความรู้เรื่องภาษี. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rd.go.th/publish/286. 0.html. (2 มกราคม 2559)
ประมวลรัษฎากร ฉบับ ปี 2558. 2558. กรุงเทพฯ: หจก.ธรรกมลการพิมพ์.
ไพรัช พรพันธ์เดชวิทยา. 2554. การบัญชีภาษีอากร. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมนิติเพรส จำกัด.
วนิดา กุลสุ. 2553. การบัญชีภาษีอากร. น่าน: วิทยาลัยเทคนิคน่าน.
เวก ศิริพิมลวาทิน. 2557. ภาษีเงินได้นิติบุคคลกับการบัญชี. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
สถาบันติว Home Ac & จิรศักดิ์ (อ.น้อย). 2558. เอกสารวิชา ประมวลฯ ภาษีเงินได้นิติบุคคล. กรุงเทพฯ:
สมคิด บางโม. 2557. การภาษีอากรธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท วิทยพัฒน์ จำกัด.
สุเมธ ศิริคุณโชติ และคณะ. 2558. ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2558. กรุงเทพฯ: หจก. เรือนแก้ว
การพิมพ์.
1) สภาวิชาชีพบัญชี www.fap.or.th 2) กรมสรรพากร www.rd.go.th 3) สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ www.sec.or.th 4) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย www.set.or.th 5) ธนาคารแห่งประเทศไทย www.bot.or.th 6) กรมศุลกากร www.customs.go.th
-