การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง

Electric Power System Analysis

1.1.1 เข้าใจหลักการคำนวณโครงข่ายการส่งและจ่ายกำลังไฟฟ้า
1.1.2 แก้ปัญหาโหลดโฟลว์และการควบคุมโหลดโฟลว์
1.1.3 วิเคราะห์วงจรลัดแบบสมมาตร
1.1.4 วิเคราะห์วงจรลัดแบบไม่สมมาตร
1.1.5 วิเคราะห์เสถียรภาพในระบบไฟฟ้ากำลัง
1.1.6 วิเคราะห์การส่งและการจ่ายไฟฟ้าแบบประหยัดของระบบไฟฟ้ากำลัง
มีการปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับระบบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาและที่สภาวิศวกรกำหนด
ศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณโครงข่ายการส่งและการจ่ายกำลังไฟฟ้า โหลดโฟล์ว การควบคุมโหลดโฟล์ว  การวิเคราะห์วงจรลัดแบบสมมาตร การวิเคราะห์วงจรลัดแบบไม่สมมาตร เสถียรภาพในระบบไฟฟ้ากำลัง  การส่งและการจ่ายไฟฟ้าแบบประหยัด
  -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
แนะนำในห้องเรียน


อธิบายความหมายข้อดี ข้อเสีย  แนะนำและยกตัวอย่าง อธิบายระเบียบการเข้าชั้นเรียน แนะนำและอธิบายในชั้นเรียน มีสัมมาคารวะให้ความเคารพแก่ ครู อาจารย์ พ่อ แม่ ผู้อาวุโสที่เป็นเครือญาต และรุ่นพี่
สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา


สังเกตพฤตกรรมของนักศึกษา เช็ครายชื่อนักศึกษาที่เข้าชั้นเรียน ตรวจงานที่มอบหมายให้นักศึกษา เน้นให้ส่งตรงตามเวลา สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
มีความรู้ความเข้าในด้านทฤษฎีและสามารถนำไปปฎิบัติได้
ใช้สื่อการสอนเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ดี เช่น ใช้รูปภาพ PowerPoint ของจริง เป็นต้น เปิดโอกาสให้นักศึกษามีกิจกรรม ร่วมกับผู้สอนโดยมีการตั้ง    คำถาม หรือตอบคำถามนักศึกษาให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
ตรวจแบบฝึกหัดของนักศึกษา สอบข้อเขียนกลางภาค และปลายภาคการศึกษา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ
มอบหมายโครงงานให้นักศึกษาทำ
ตรวจสอบโครงงานของนักศึกษา
มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสัมคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถทำงานเป็นกลุ่มได้
 1.แนะนำในห้องเรียน
2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน
1.สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
 
2. ตรวจสอบงานที่ทำและสังเกตพฤติกรรมการทำงานของนักศึกษา
ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข ทักษะในการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
1. มอบหมายให้นักศึกษาคิดคำนวณเชิงตัวเลขโดยใช้เครื่องคำนวณตัวเลขที่สอดคล้องกับยุคสมัย
2. มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
1. ตรวจสอบงานคิดคำนวณเชิงตัวเลขที่ได้มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติ
 
2. ตรวจสอบงานที่ได้ให้นักศึกษาหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
1. มีทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน
2. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1. มีการวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
   2. สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
      3. สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
        4.สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมกับหน่วยงานภายในและภายนอก
         5. จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
         6. สนับสนุนการทำโครงงาน
        7. การฝึกงานทางวิศวกรรมในสถานประกอบการ
1. มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
         2. มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
         3. มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ     
          4. มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา
          5. มีการประเมินนักศึกษาวิชาสหกิจศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะ ทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะ การวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGEE119 การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอแนวคิด 1-16 10%
2 2.1,3.1 ตรวจแบบฝึกหัดและโครงงานที่มอบหมายให้นักศึกษา 1-16 20%
3 4.2,5.2 การทำงานกลุ่มและผลงาน 1-16 10%
4 2.1 สอบกลางภาคเรียน 9 30%
5 2.1 สอบปลายภาคเรียน 16 30%
"การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง",  โตศักดิ์  ทัศนานุตริยะ
"Power System Analysis",Grainger J.J., and Stevenson W.D.
https://ieeexplore.ieee.org/
-
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา  สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน  และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป