ระบบชลประทานแบบฉีดฝอยและแบบหยด

Sprinkler and Drip Irrigation System

เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างดิน น้ำ และพืช ปริมาณการใช้น้ำของพืช เครื่องสูบน้ำ ท่อส่งน้ำและอุปกรณ์ประกอบท่อ การคำนวณหาขนาดท่อ และการสูญเสียแรงดันน้ำในท่อ การออกแบบ และการติดตั้ง ระบบการให้น้ำแบบฉีดฝอย และแบบหยด
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน ความสัมพันธ์ระหว่างดิน น้ำ และพืช ปริมาณการใช้น้ำของพืช เครื่องสูบน้ำ ท่อส่งน้ำและอุปกรณ์ประกอบท่อ การคำนวณหาขนาดท่อ และการสูญเสียแรงดันน้ำในท่อ การออกแบบ และการติดตั้ง ระบบการให้น้ำแบบฉีดฝอย และแบบหยด
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการให้น้ำของพืช ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำในดิน พืช และบรรยากาศ อัตราการใช้น้ำของพืช เครื่องสูบน้ำ ท่อส่งน้ำและอุปกรณ์ประกอบท่อ การคำนวณหาขนาดท่อ และการสูญเสียแรงดันน้ำในท่อ การออกแบบ และวิเคราะห์ความเหมาะสมเชิงเศรษฐศาสตร์ของระบบการให้น้ำแบบฉีดฝอยและแบบหยด
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
š 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.การเขียนบันทึก
4.โครงการกลุ่ม
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
™ 2.2 สามารถบูรณาการ
ความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar) 
6. การสอนแบบ Tutorial Group
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
10. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
11. การสอนแบบบรรยาย  
1.สถานการณ์จำลอง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การฝึกตีความ
8.ข้อสอบอัตนัย
9. ข้อสอบปรนัย
10.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
11.การประเมินตนเอง
12.การประเมินโดยเพื่อน
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 
˜ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
™ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.แฟ้มสะสมงาน
4.การเขียนบันทึก
5.โครงการกลุ่ม
6.นิทรรศการ
7.การสังเกต
8.การนำเสนองาน
9.การฝึกตีความ
10.ข้อสอบอัตนัย
11. ข้อสอบปรนัย
12.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
13.การประเมินตนเอง
14.การประเมินโดยเพื่อน
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
š 4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar) 
3. การสอนแบบ Tutorial Group
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
6. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.นิทรรศการ
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
š 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
™ 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.แฟ้มสะสมงาน
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCFM125 ระบบชลประทานแบบฉีดฝอยและแบบหยด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1., 3.1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค โดยการสอบตามหัวข้อผลการเรียนรู้ที่ได้กำหนดไว้ 7 17 20% 20%
2 1.3,2.1,3.1,4.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.3,4.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารและตำราหลัก

- พงศธร ศิริอ่อน , วิศวกรรมระบายน้ำ ,วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
- พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร , สิทธิพัฒน์ จำนงศิลป , ยุทธชัย รุจิวิมล , Macromedia Dreamweaver MX
- มนตรี ค้ำชู , ชลศาสตร์จุลภาค , วิทยาลัยการชลประทาน , สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
- วสันต์ บุญเกิด , การออกแบบระบบชลประทานในไร่นา , วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
- วิบูลย์ บุณยธโรกุล , รศ.ดร.2526.หลักการชลประทาน , วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
- สุรวุฒิ กอสุวรรณศิริ , 2544 ,เสริมแต่งโฮมเพจครั้งใหม่ ให้มีชีวิตชีวาด้วย JavaScript อรุณ อินทรปาลิต ,การวางแผนและออกแบบระบบการส่งน้ำ , วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
เอกสารและข้อมูลสำคัญ (จำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมหรือไม่ ถ้าจำเป็นให้ใส่ด้วยคำอธิบายตัวสีแดงเขียนด้วยลายมือ)
กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร โดยการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อแนะนำผ่านเว็บบอร์ดใน LMS ประจำรายวิชาที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
กลยุทธ์การประเมินการสอน

ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้
- ประเมินจากผลการประเมินผู้เรียนโดยดูจากคะแนนผลการสอบปฏิบัติรายบุคคล
 การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
การปรับปรุงการสอน

-ประเมินจากคะแนนสอบปฏิบัติย่อยรายบุคคลถ้าพบว่านักศึกษามีข้อด้อยด้านในจะต้องพัฒนาการสอนด้านนั้นให้มากขึ้นตามลำดับความสำคัญ
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4