หลักการเขียนแบบ

Principles of Drawing

1.1 รู้หลักการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือในการเขียนแบบ 1.2 เข้าใจหลักการในการเขียนแบบวิศวกรรม 1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานเขียนแบบวิศวกรรม 1.4 รู้หลักการในการเขียนชิ้นส่วนและเครื่องมือ 1.5 มีเจตคติที่ดีต่องานเขียนแบบวิศวกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านการเขียนแบบ วิศวกรรม เป็นการเตรียมความพร้อมในการน าความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาการเขียนแบบพื้นฐาน เครื่องจักรกลเกษตร     เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้เครื่องมือและตัวอักษรที่ใช้ในการเขียนแบบ รูปทรง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนแบบภาพฉาย ภาพสามมิติ  การก าหนดขนาดและรายการประกอบแบบ และเทคนิคการร่างภาพ
 จำนวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง  1 ชั่วโมง
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับงาน เขียนแบบพื้นฐานเครื่องจักรกลเกษตร โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง 1.2 อภิปรายกลุ่มและฝึกปฏิบัติงานจริง 1.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 1.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 1.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)  ˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  š 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา  š 2.3 สามารถวัดและประเมินผลด้านการเรียนรู้
 บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  ทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ  และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ฝึกปฏิบัติงานจริงตามหน่วยเรียน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี 2.2   ประเมินจากการนำเสนองานในการฝึกปฏิบัติงานในแต่ละหน่วยเรียน
˜ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ š 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.1 การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติงานในพื้นที่จริง ตามหัวข้องานในแต่ละหน่วยเรียน และการนำเสนอผลงาน 3.2   อภิปรายกลุ่ม
3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน 3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
š 4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี š 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม š 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 4.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล 4.3   การนำเสนอรายงาน
4.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 4.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง  
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication and Information Technology Skills) š 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม š 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม  š 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 5.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา สอนให้เป็นคน เข้าใจ นำไปใช้ได้ เข้าใจ นำไปใช้ได้
1 BSCFM213 หลักการเขียนแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
จิราพงษ์ กาสิวิตาเมือง เขียนแบบวิศวกรรม  กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์ Engineering Drawing            ISBN978-974-03-1863-7 
ชุมพล ศฤงคารศิริการ เขียนแบบวิศวกรรม  กรุงเทพฯ   ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), สนพ. สมาคม นริศ ศรีเมฆ เขียนแบบวิศวกรรม กรุงเทพ ฯ ส านักพิมพ์เอมพันธ์  ISBN974-216-529-7 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   เพิ่มแนวทางการวิเคราะห์ปัญหาที่ทันต่อเทคโนโลยี และปัญหาที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ