ออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์

Computer Aided Design and Drawing

. เพื่อรู้ในการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการเขียนแบบด้วยโปรแกรม Autodesk Inventor
2. เพื่อเข้าใจวิธีการและขั้นตอนในการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor
3. เพื่อนำไปใช้ในการเขียนชิ้นส่วนเครื่องกล ( Part) (2D และ 3D )
4. เพื่อนำไปใช้ในการประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล (Assembly)
5. เพื่อนำไปใช้ในแบบสั่งงานเครื่องกล (Drawing)
6. เพื่อนำไปใช้ในการนำเสนอการประกอบ-แยกชิ้นส่วนเครื่องกล (Presentation)
7. เพื่อมีทักษะพิสัยในการนำไปโครงงานปัญหาพิเศษในการออกแบบและสร้างงานปัญหาพิเศษ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านการอออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อ ความรู้ ความเข้าใจ  การเขียนชิ้นส่วนเครื่องกล ( Part) (2D และ 3D ) , การประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล (Assembly) , แบบสั่งงานเครื่องกล (Drawing) ,การนำเสนอการประกอบ-แยกชิ้นส่วนเครื่องกล (Presentation) โดยหลักทางวิศวกรรม 
          ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้คอมพิวเตอร์ในงานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมเกษตร ทั้งด้านการออกแบบ เขียนแบบ  การนำเสนองาน  โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้อง  เช่น Inventor , Solid Works, Autocadหรือโปรแกรมอื่น ๆ
-
1 มีจิตส านึกสาธารณะและ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อ เวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย
1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทาง จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงานในโรงงานโดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริตหรือจาก มิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง
2 อภิปรายกลุ่มและฝึกปฏิบัติงาน จริง
3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องหรือกำหนดบทบาท สมมุต
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และ ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตาม ขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและ เหมาะสม
3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติใน เนื้อหาที่ศึกษา 
2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและ เทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3 สามารถวัดและประเมินผลด้านการเรียนรู้ 
บรรยาย  อภิปราย การ ทำงานกลุ่ม  ทั้งด้านทฤษฎีและ ปฏิบัติ  และมอบหมายให้ค้นหาบทความข้อมูลที่เกี่ยวข้องฝึกปฏิบัติงานจริงตามหน่วยเรียน โดยนำมาสรุปและนำเสนอและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. สอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2. ประเมินจากการนำเสนองานในการฝึกปฏิบัติงานในแต่ละหน่วยเรียน
1 มีทักษะปฏิบัติจากการ ประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ
2 มีทักษะในการน าความรู้มา คิดและใช้อย่างมีระบ
1 การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติงาน ในพื้นที่จริงตามหัวข้องานในแต่ละหน่วยเรียน และการนำเสนอผลงาน
2   อภิปรายกลุ่ม
1. สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
2 วัดผลจากการประเมินโครงการนำเสนอผลงาน
3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไข ปัญหา 
1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล  
3   การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 
2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง 
1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2 สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม  
3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ   
1. มอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อ การสอน E- Learning และท า รายงานโดยเน้นการน าตัวเลข หรือ มีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่ น่าเชื่อถือ
2  นำเสนอโดยรูปแบบและ เทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินมาจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมใน การอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 3 2 3
1 BSCFM143 ออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3, การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16 10
1. ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk AutoCAD 2014
สำนักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
2. จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ และ สมชาย ชูแก้ว  กรุงเทพฯ  คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor 2008  ส่งเสริมเทคโนโลยี (ญี่ปุ่น-ไทย),
3. ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor 2012
สำนักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
4. จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ และ สมชาย ชูแก้ว  กรุงเทพฯ  คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor
           Profrestional 2012  ส่งเสริมเทคโนโลยี (ญี่ปุ่น-ไทย),
5. ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor 2015
สำนักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
6. ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor Profrestional  2016
          สำนักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
7. สุริยา แก้วมณี และ นิรวิทย์ นนทะศิริ กรุงเทพฯ คู่มือการเขียนแบบเครื่องจักรกล 1
          Machanical Engineering Drawing Volume 1 สำนักพิมพ์ เอ็น วาย ฟิล์ม, บจก.
8. สุริยา แก้วมณี และ นิรวิทย์ นนทะศิริ กรุงเทพฯ คู่มือการเขียนแบบเครื่องจักรกล 2    
          Machanical Engineering Drawing Volume 1 สำนักพิมพ์ เอ็น วาย ฟิล์ม, บจก.
-
-
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู
3.1   เพิ่มแนวทางการวิเคราะห์ปัญหาที่ทันต่อเทคโนโลยี และปัญหาที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจ าหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับ ปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ