การถนอมอาหาร

Food Preservation

1.1 เข้าใจและอธิบายถึงแหล่งที่มาของอาหาร การจัดแบ่งอาหารตามการเสื่อมเสียและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเสื่อมเสียได้ 1.2 เข้าใจและสามารถอธิบายถึงหลักการและวิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ในการถนอมอาหาร 1.3 มีทักษะในการถนอมอาหารโดยวิธีการต่าง ๆ ได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้หลักการถนอมอาหาร เข้าใจและเลือกใช้วิธีการถนอมอาหารได้อย่างเหมาะสม และประยุกต์ใช้ได้อาหารที่มีในท้องถิ่นหรือสภาวการณ์ต่าง ๆ ได้จริง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติความสำคัญของการถนอมอาหาร สาเหตุการเสื่อมคุณภาพของอาหารในด้านกายภาพ เคมีและชีวภาพ หลักและกรรมวิธีการถนอมอาหาร การถนอมอาหารเพื่อบริโภคและเป็นอุตสาหกรรมขนาดย่อม และฝึกปฏิบัติถนอมอาหารจากวัตถุดิบในท้องถิ่น
วันพุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องห้องพักครูสาขาอุตสาหกรรมเกษตร โทร 083 5564163 e-mail; wanvimon.pumpho@gmail.com เวลา 20.00 - 22.00 น. ทุกวัน
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ - มีวินัย ตรงต่อเวลา ขยัน และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
- ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้อง ในโอกาสต่าง ๆ - บรรยาย / ระดมความคิด - ยกตัวอย่างกรณีศึกษา - อภิปรายกลุ่ม การแสดงความคิดเห็น  และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน - ปฏิบัติงานอย่างสร้างสรรค์ด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
-  พฤติกรรมการเข้าเรียน ส่งงานตรงเวลาตามที่กำหนด -  อ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำกิจกรรม อย่างถูกต้องและเหมาะสม -  ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย - ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ
ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง บรรยาย  อภิปราย  สอบถาม  สรุปผลงานปฏิบัติการและโครงงาน  และทำบันทึกความรู้ที่ได้รับจากการเรียนตลอดการศึกษา  โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้และข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าจากให้นำเสนองานสร้างสรรค์ โดยใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม หนังสือ ตำรา และทางอินเตอร์เน็ต
- การสอบกลางภาค การสอบปลายภาคและการสอบปฏิบัติการ - การค้นคว้าและจัดทำรายงานที่ได้รับมอบหมาย  - การจัดทำรายงาน การส่งรายงานปฏิบัติการ
- มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
-  การมอบหมาย  กรณีศึกษา ให้นักศึกษาทำวางแผนการทำงานภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อการถนอมอาหาร ตามสถานการณ์ศึกษา การแก้ไขปัญหาและการนำเสนอ
-  การประเมินงานภาคทฤษฎีและปฏิบัติ การนำเสนอผลงาน -  สังเกตพฤติกรรมการแก้ปัญหา ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
- มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ - สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- อภิปราย  ระดมสมอง การทำงานกลุ่ม - นำเสนอผลงาน ร่วมทำโครงงานที่มอบหมาย - การฝึกปฏิบัติ
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - ประเมินผลจากรายงานปฏิบัติการ   และการส่งงานตามกำหนดเวลา - ประเมินการฟังการนำเสนอ  รายบุคคลและกลุ่ม
- ใช้สื่อและวิธีการสอนที่น่าสนใจชัดเจน ง่ายต่อการติดตามทําความเข้าใจประกอบการสอนในชั้นเรียน - การสอนโดยมีการนําเสนอ ข้อมูลและ กระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอและสืบค้นข้อมูล แนะนําเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล - การมอบหมายงานที่ต้องมีการรวบรวม ค้นคว้าด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีมเน้นสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมีการนําเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยีการสร้างงานให้เป็นระบบของศาสตร์-ศิลป์ มีการอ้างอิง
- การสอบกลางภาคและสอบปลายภาค - ประเมินทักษะการใช้สื่อและทักษะการใช้ภาษาพูดจากการอภิปรายในชั้นเรียน - ประเมินทักษะการสืบค้นข้อมูลและทักษะการใช้ภาษาเขียนจากรายงานปฏิบัติการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCFN117 การถนอมอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1. การเข้าชั้นเรียน 2. การมีส่วนร่วม การซักถาม การแสดงความคิดเห็น 3. ความซื่อสัตย์ 4. การส่งงานตามกำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ด้านความรู้ 1. สอบกลางภาค 2. สอบปลายภาค 3. สอบปฏิบัติ 8, 14, 15, 17 20% 20% 10%
3 ด้านทักษะทางปัญญา 1. รายงานผลการศึกษาค้นคว้าและการปฏิบัติการ 2. การนำเสนอรายงาน 16 20%, 20%
วิไล รังสาดทอง. (2543) เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร.กรุงเทพฯ:เทคซ์แอนด์เจอร์นัล. พับลิเคชั่น. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.
สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์.  2545. เอกสารการสอนชุดวิชา เรื่องการถนอมและแปรรูปอาหาร หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 4. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  นนทบุรี. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์.  2545. เอกสารการสอนชุดวิชา เรื่องการถนอมและแปรรูปอาหาร หน่วยที่ 8-15. พิมพ์ครั้งที่ 4. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นนทบุรี.
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก  เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง เช่น       Avaliable Source http://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/health/index.php Avaliable Source http://www.gpo.or.th/rdi/html/preserve_food.html Avaliable Source http://www.phtnet.org/article/view-article.asp?aID=17
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้                   1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน                  1.2  ผลการเรียนของนักศึกษา                   1.3  แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
กลยุทธ์ในการประเมินการสอนในรายวิชานี้ ดูผลจากผลการประเมินผู้สอนของนักศึกษาและนำข้อมูลที่ได้มาดำเนินการปรับปรุงหรือเพิ่มประสิทธิภาพการสอนต่อไป
หลังจากทราบผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจาก  ผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน ภายหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนําเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินงานของรายวิชาเสนอต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสําหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป