การบริหารความขัดแย้งในองค์การและการเจรจาต่อรอง

Organizational Conflict Management and Negotiation

1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจความหมาย และประเภทความขัดแย้งภายในองค์การ
2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจำแนกประเภทความขัดแย้งภายในองค์การ
3. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน ระหว่างบุคคล ระหว่างกลุ่ม และองค์กร
4. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงแนวทางการลดความขัดแย้ง การแก้ไข และเทคนิคการบริหารความขัดแย้งที่นำไปสู่การพัฒนา
5. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการจัดการความขัดแย้งและการแก้ปัญหาความขัดแย้งภายในองค์การได้อย่างเหมาะสมตามสภาพแวดล้อมของธุรกิจจริง
6. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะในการเจรจาและโน้มน้าวคู่เจรจา รวมไปจนถึงการวางกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรองให้บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ
     เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในการจัดการเรียนการสอนสำหรับหลักสูตรการบริหารธุรกิจ และเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารความขัดแย้งในองค์การ และเทคนิคการเจรจาต่อรอง เพื่อพัฒนาทักษะในการเจรจารวมถึงการเรียนรู้แนวทางการลดความขัดแย้ง การแก้ไขและเทคนิคการบริหารความขัดแย้งที่นำไปสู่การพัฒนาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีและเศรษฐกิจของประเทศ
      แนวคิด รูปแบบ กระบวนการ และวิธีการจัดการความขัดแย้ง การวิเคราะห์ความขัดแย้งและการแกปญหาในสังคมสมัยใหม่ การจัดทำประชาพิจารณ การประชามติ แนวคิด ทฤษฎีและเทคนิคการเจรจาตอรอง เพื่อพัฒนาทักษะในการเจรจาและโนมน้าวคูเจรจา วิธีการวิเคราะห์และจัดวางกลยุทธในการเจรจาตอรองใหบรรลุเป้าหมายของธุรกิจ
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 นักศึกษามีภาวะผู้นํา มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสํานึก สาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
1.  จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2.  สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
3.  ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4.  กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมี ส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
5.  เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน
6.  สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
7.  อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน
1)  การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2)  การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
3)  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
4)  การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
5)  ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
6)  ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
7)  ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
 
     มีองคความรูในสาขาวิชาอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ ตระหนัก รูหลักการและทฤษฎีในองคความรูที่เกี่ยวของสำหรับหลักสูตรวิชาชีพ มีความเขาใจเกี่ยวกับความก้าวหนาของความรูเฉพาะด้านในสาขาวิชา และตระหนักถึงงานวิจัยในปจจุบันที่เกี่ยวของกับการแกปญหาและการต่อยอดองคความรู สวนหลักสูตรวิชาชีพที่เนนการปฏิบัติ จะตองตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์
     นอกจากนี้ นักศึกษาตองมีความรูในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรูหลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวของอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรูและประยุกตใชหลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรูในสาขาวิชาชีพ สามารถแขงขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใชรูปแบบของการนําเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชนมีทักษะในการทำงานเนทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ
1.  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
2.  จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
4.  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อน               ร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
5.  ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
6.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
 
 
1.  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.  รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ
3.  ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง
4.  ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
5.  ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
6.  ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
7.  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน  การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
     นักศึกษา ตองสามารถคนหาขอเท็จจริง ทำความเขาใจและสามารถประเมินข้อมูลแนวคิด
และหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใชข้อมูลที่ได้ในการแกไขปญหาและงานอื่นๆ ด้วยตนเอง สามารถศึกษาปญหาที่คอนข้างซับซอน และเสนอแนะแนวทางในการแกไขได้อย่างสร้างสรรคโดยคำนึงถึงความรูทางทฤษฎี ประสบการณทางภาคปฏิบัติ และผลกระทบจากการตัดสินใจ สามารถใชทักษะและความเขาใจอันถองแท้ในเนื้อหาสาระทางวิชาการและวิชาชีพสำหรับหลักสูตรวิชาชีพ
     นักศึกษาสามารถใชวิธีการปฏิบัติงานประจำ และหาแนวทางใหม่ในการแกไขปญหาได้อย่างเหมาะสมนอกจากนี้ นักศึกษาตองมีความรอบรู สามารถสืบคนข้อมูล และขอเท็จจริง ทำความเขาใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชนตอการใชงานตามสถานการณจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกตใชความรูจากทฤษฎีและประสบการณเพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แกไขปญหาและเสนอแนะแนวทางในการแกไขได้อย่างมีเหตุผล
1. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน
2.  กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผน  การทำงานเป็นทีม
3.  การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
4.  การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
5.  จัดให้ในรายวิชา มีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด   การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ด้านต่าง ๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
1.  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
2.  การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่าง ๆ
3.  การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
4.  ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา
5.  ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา
6.  ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
7.  ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง
8.  ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
 
     มีสวนช่วยและเอื้อตอการแกปญหาในกลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์ ไม่วาจะเป็นผู้นําหรือสมาชิกของกลุม สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นําในสถานการณที่ไม่ชัดเจน และตองใชนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการแกปญหา มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่มรับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งพัฒนาตนเองและอาชีพ นอกจากนี้ นักศึกษาตองมีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
1.  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
3. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
4.  มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
5.  มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคล อื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
6.  มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
 
1. การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
2. พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
3. พฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา
4. พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
5. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
 
     สามารถศึกษาและทำความข้าใจในประเด็นปัญหา สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิค ทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการศึกษาค้นคว้า และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไข ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมาย และนําเสนอข้อมูล สารสนเทศอย่างสม่ำเสมอ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในการพูด การเขียน สามารถเลือกใช้ รูปแบบของการนําเสนอที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มบุคคลที่แตกต่างกันได้
         นอกจากนี้ นักศึกษาต้องมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญใน วิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่ เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการ นําเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
1.  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา
3.  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
4. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
5. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.  การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
2.  ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
3.  พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
4.  ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.  ประเมินจากการสรุป และอภิปรายงาน/กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน
    บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
1.  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2.  จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ  บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล  การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
4. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
5. จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร ในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
 
 
1. ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2. พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษา มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
3. การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4
1 BBABA227 การบริหารความขัดแย้งในองค์การและการเจรจาต่อรอง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1,2.1.2 การทดสอบ -การสอบกลางภาค -การสอบปลายภาค 8 , 17 30% , 30%
2 2.1.1,2.1.2,3.1.1,3.1.2, 4.1.1,4.1.2, 5.1.1,5,1.2, 5.1.3 การวิเคราะห์กรณีศึกษา การค้นคว้า การนำเสนอรายงาน - การส่งแบบฝึกหัด -การทำรายงาน/โครงการวิจัย/งานที่มอบหมาย -การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1.1,1.1.2,1.1.3 การเข้าชั้นเรียน -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -พฤติกรรมการเข้าเรียน -การตอบคำถามและการอภิปราย ตลอดภาคการศึกษา 10%
ดร.พรนพ  พุกกะพันธุ์.  การจัดการความขัดแย้งในองค์กร.   ภาควิชาการจัดการทั่วไป.คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม.
นรินทร์  องค์อินทรี.  การจัดการความขัดแย้ง.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  กรุงเทพ : บริษัท เอ๊กซเปอร์เน๊ท จำกัด, 2549.
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ
วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการจัดการ และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
              1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
              1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
         1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเฟสบุ๊คกลุ่มรายวิชา ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
            ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน  ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
               2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา
               2.2  ผลงานกลุ่มของนักศึกษา
           2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
              3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
              3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา ได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น
4.2  การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรืออุตสาหกรรมต่างๆ ให้มีความหลากหลายมากขึ้น