ปัญหาพิเศษทางสัตวศาสตร์

Special Problems in Animal Science

นักศึกษาสามารถศึกษาและค้นคว้าทดลองทางสัตวศาสตร์ เกิดความรู้ ความชำนาญ และเรียบเรียงผลการศึกษาเป็นเอกสารรายงาน
ปัญหาพิเศษทางสัตวศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในการผลิตสัตว์ทางการค้าภายใต้สภาวะการแข่งขันและการกีดกันทางการค้าของตลาดโลก ดังนั้นนักศึกษาจึงต้องรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาและค้นคว้าทดลองทางสัตวศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความชำนาญ และเรียบเรียงผลการศึกษาเป็นเอกสารรายงาน เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาที่เกิดจากการผลิตสัตว์โดยอาศัยคามรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ และสรรค์สร้างนวัตกรรมใหม่ในการผลิตสัตว์
ศึกษาและค้นคว้าทดลองทางสัตวศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความชำนาญ และเรียบเรียงผลการศึกษาเป็นเอกสารรายงาน
Research for solution seeking in animal science by collecting, analyzing, evaluating data, finalizing and present it at a report
1 ชม.
1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
(Individual Study)
3. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
4. การสอนแบบปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
1. กระบวนการสืบค้น
2. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
3. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
4. การสอนแบบปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น
2. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
4.1ภาวะผู้นำหมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
2. การสอนแบบ Brain Storming Group
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
 
5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
5.2 ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
2.การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองาน ในรูปแบบเอกสาร
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2.2 มีความรอบรู้ 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ 4.1ภาวะผู้นำ 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ 5.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.2 ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 BSCAG216 ปัญหาพิเศษทางสัตวศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 2.1, 2.2 3.1, 3.2, 3.3, 4.1, 4.2, 5.1, 5.2 ผลงาน /รายงาน/การทำงานกลุ่ม/การศึกษาอิสระ/งานในห้องปฏิบัติการ ทุกสัปดาห์ 70%
2 1.1, 1.2, 2.1, 2.2 3.1, 3.2, 3.3, 4.1, 4.2, 5.1, 5.2 นำเสนอรายงานเป็นกลุ่มโดยนักศึกษา พฤติกรรมต่างๆ เช่น การร่วมอภิปราย การตอบคำถาม เป็นต้น ทุกสัปดาห์ 20%
3 3.1, 3.2, 3.3, 4.1, 4.2, 3.1, 3.2, 3.3, 4.1, 4.2, 5.1, 5.2 การส่งงาน การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ คุณธรรม และจริยธรรม ทุกสัปดาห์ 10%
- คู่มือปัญหาพิเศษของ มทร.ล้านนา
-หนังสือ ตำรา ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่นักศึกษาทำ (ในห้องสมุด)
-เอกสารที่เกี่ยวกับหัวข้อที่นักศึกษาทำ
-เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อที่นักศึกษาทำ
-การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
-ผลการให้คะแนนจากอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
-การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
-การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
-มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ วิธีการให้คะแนนเล่มรายงาน การนำเสนอสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
-ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4