ไวยากรณ์เพื่อการสื่อสาร

English Grammar for Communication

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้หลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษในระดับที่ซับซ้อนขึ้น การสร้างประโยคอย่างถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และการเลือกใช้คำศัพท์อย่างเหมาะสมเพื่อการสื่อสารอย่างมีความหมาย
 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้หลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษในระดับที่ซับซ้อนขึ้น และเป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ได้เพิ่ม กิจกรรมให้มีการฝึกปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์เพิ่มขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
หลักไวยกรณ์ภาษาอังกฤษ การสร้างประโยคที่ถูกต้องตามหลักไวยกรณ์เพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
1.1      คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา
          ส่งเสริมให้นักศึกษาพัฒนาความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณลักษณะอันเป็นที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการ
    1.2  วิธีการสอน
          1.2.1    ให้ความรู้โดยสอดแทรกในเนื้อหาของบทเรียนต่าง ๆ
          1.2.2    มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
    1.3  วิธีการประเมินผล
          1.3.1    การเข้าเรียนตรงเวลา มีวินัยขยันอดทน เพียรพยายาม รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
          1.3.2    การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
          1.3.3    การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน และนอกชั้นเรียน
1.1      คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา
          ส่งเสริมให้นักศึกษาพัฒนาความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณลักษณะอันเป็นที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการ
    1.2  วิธีการสอน
          1.2.1    ให้ความรู้โดยสอดแทรกในเนื้อหาของบทเรียนต่าง ๆ
          1.2.2    มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
    1.3  วิธีการประเมินผล
          1.3.1    การเข้าเรียนตรงเวลา มีวินัยขยันอดทน เพียรพยายาม รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
          1.3.2    การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
          1.3.3    การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน และนอกชั้นเรียน
1.1      คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา
          ส่งเสริมให้นักศึกษาพัฒนาความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณลักษณะอันเป็นที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการ
    1.2  วิธีการสอน
          1.2.1    ให้ความรู้โดยสอดแทรกในเนื้อหาของบทเรียนต่าง ๆ
          1.2.2    มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
    1.3  วิธีการประเมินผล
          1.3.1    การเข้าเรียนตรงเวลา มีวินัยขยันอดทน เพียรพยายาม รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
          1.3.2    การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
          1.3.3    การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน และนอกชั้นเรียน
2.2.1    สอนโดยการบรรยายให้ความรู้ ผนวกกับการฝึกปฏิบัติจริง โดยเน้นการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน (Student-Centered)
          2.2.2    สอนโดยการใช้กิจกรรมเป็นฐาน (activity-based) เช่น สร้างสถานการณ์ให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง เป็นต้น
          2.2.3    ให้นักศึกษาฝึกการใช้ภาษาและวิเคราะห์โดยการอ่านและเขียนจากสื่อต่างๆ ตลอดจนการทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน
          2.2.4  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
    2.3  วิธีการประเมินผล
          2.3.1    การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
          2.3.2    ผลการฝึกปฏิบัติ / การทำกิจกรรมของนักศึกษา
          2.2.3    ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
2.2.1    สอนโดยการบรรยายให้ความรู้ ผนวกกับการฝึกปฏิบัติจริง โดยเน้นการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน (Student-Centered)
          2.2.2    สอนโดยการใช้กิจกรรมเป็นฐาน (activity-based) เช่น สร้างสถานการณ์ให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง เป็นต้น
          2.2.3    ให้นักศึกษาฝึกการใช้ภาษาและวิเคราะห์โดยการอ่านและเขียนจากสื่อต่างๆ ตลอดจนการทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน
          2.2.4  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
    2.3  วิธีการประเมินผล
          2.3.1    การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
          2.3.2    ผลการฝึกปฏิบัติ / การทำกิจกรรมของนักศึกษา
          2.2.3    ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
2.2.1    สอนโดยการบรรยายให้ความรู้ ผนวกกับการฝึกปฏิบัติจริง โดยเน้นการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน (Student-Centered)
          2.2.2    สอนโดยการใช้กิจกรรมเป็นฐาน (activity-based) เช่น สร้างสถานการณ์ให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง เป็นต้น
          2.2.3    ให้นักศึกษาฝึกการใช้ภาษาและวิเคราะห์โดยการอ่านและเขียนจากสื่อต่างๆ ตลอดจนการทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน
          2.2.4  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
    2.3  วิธีการประเมินผล
          2.3.1    การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
          2.3.2    ผลการฝึกปฏิบัติ / การทำกิจกรรมของนักศึกษา
          2.2.3    ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
    3.1  ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
          3.1.1    ทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้การใช้หลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษในระดับที่ซับซ้อนขึ้น มาใช้ในวิชาการและวิชาชีพ
          3.1.2    ทักษะในการนำความรู้ทางด้านหลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษในระดับที่ซับซ้อนขึ้น เช่น การอ่าน การเขียน การแปล  เป็นต้น
    3.2  วิธีการสอน
          3.2.1    บรรยายให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ภาษา
          3.2.2    นักศึกษาซักถามและอภิปรายแสดงความคิดเห็น
          3.2.3    นักศึกษาฝึกปฏิบัติ ทำแบบฝึกหัดตามเนื้อหาการบรรยาย
          3.2.4    นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย เช่น ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
    3.3  วิธีการประเมินผล
          3.3.1    การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
          3.3.2    การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
          3.3.3    การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมุติหรือสถานการณ์จำลอง
    3.1  ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
          3.1.1    ทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้การใช้หลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษในระดับที่ซับซ้อนขึ้น มาใช้ในวิชาการและวิชาชีพ
          3.1.2    ทักษะในการนำความรู้ทางด้านหลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษในระดับที่ซับซ้อนขึ้น เช่น การอ่าน การเขียน การแปล  เป็นต้น
    3.2  วิธีการสอน
          3.2.1    บรรยายให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ภาษา
          3.2.2    นักศึกษาซักถามและอภิปรายแสดงความคิดเห็น
          3.2.3    นักศึกษาฝึกปฏิบัติ ทำแบบฝึกหัดตามเนื้อหาการบรรยาย
          3.2.4    นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย เช่น ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
    3.3  วิธีการประเมินผล
          3.3.1    การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
          3.3.2    การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
          3.3.3    การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมุติหรือสถานการณ์จำลอง
    3.1  ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
          3.1.1    ทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้การใช้หลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษในระดับที่ซับซ้อนขึ้น มาใช้ในวิชาการและวิชาชีพ
          3.1.2    ทักษะในการนำความรู้ทางด้านหลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษในระดับที่ซับซ้อนขึ้น เช่น การอ่าน การเขียน การแปล  เป็นต้น
    3.2  วิธีการสอน
          3.2.1    บรรยายให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ภาษา
          3.2.2    นักศึกษาซักถามและอภิปรายแสดงความคิดเห็น
          3.2.3    นักศึกษาฝึกปฏิบัติ ทำแบบฝึกหัดตามเนื้อหาการบรรยาย
          3.2.4    นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย เช่น ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
    3.3  วิธีการประเมินผล
          3.3.1    การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
          3.3.2    การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
          3.3.3    การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมุติหรือสถานการณ์จำลอง
4.1      ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
          ส่งเสริมให้นักศึกษาพัฒนาทักษะการมีมนุษย์สัมพันธ์ มีมารยาทสังคมที่ดี และมีความรับผิดชอบจากการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย และสำเร็จตามกำหนดเวลา
    4.2  วิธีการสอน
4.2.1  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
ของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
                    4.2.2  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
                    4.2.3  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
                    4.2.4  มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
    4.3  วิธีการประเมินผล
                    4.3.1    ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
                    4.3.2    สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษาในห้องเรียน
                    4.3.3    ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
                    4.3.4    ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา
 
4.1      ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
          ส่งเสริมให้นักศึกษาพัฒนาทักษะการมีมนุษย์สัมพันธ์ มีมารยาทสังคมที่ดี และมีความรับผิดชอบจากการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย และสำเร็จตามกำหนดเวลา
    4.2  วิธีการสอน
4.2.1  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
ของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
                    4.2.2  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
                    4.2.3  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
                    4.2.4  มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
    4.3  วิธีการประเมินผล
                    4.3.1    ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
                    4.3.2    สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษาในห้องเรียน
                    4.3.3    ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
                    4.3.4    ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา
 
4.1      ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
          ส่งเสริมให้นักศึกษาพัฒนาทักษะการมีมนุษย์สัมพันธ์ มีมารยาทสังคมที่ดี และมีความรับผิดชอบจากการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย และสำเร็จตามกำหนดเวลา
    4.2  วิธีการสอน
4.2.1  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
ของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
                    4.2.2  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
                    4.2.3  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
                    4.2.4  มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
    4.3  วิธีการประเมินผล
                    4.3.1    ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
                    4.3.2    สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษาในห้องเรียน
                    4.3.3    ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
                    4.3.4    ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
-
-
1.  Peter Maggs, Sue Kay, Vaughan Jones. 2005. Inside English. London. Macmillan.
         2. Michael Mccharthy, Jeanne Maccharten, Helenn Sandiford. 2005. Touchstone 3. United Kingdom. Cambridge University Press.
         3. Michael Mccharthy, Jeanne Maccharten, Helenn Sandiford. 2013. Touchstone 2A. United Kingdom. Cambridge University Press.
         4. Liz and John Soars. 2010. American Headway. United Kingdom. Oxford University Press.
          5. รองศาสตราจารย์ ดร.อลิสา วานิชดี. Trevor John Smith. English Grammar in Use 14212ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารhttp://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Contents.html
6. เว็บไซต์ต่างๆทีเกี่ยวข้องกับเนื้อหาตลอดจนแบบฝึกหัดออนไลน์