สุนทรียศาสตร์

Aesthetics

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความหมายของสุนทรียศาสตร์ ความสำคัญและคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับความรู้สึกและการแสดงออก ปัญหาเกี่ยวกับความมีอยู่ของความงามการสร้างสรรค์
และการประเมินค่าความงาม รวมทั้งสุนทรียศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นพื้นฐาน ในการสร้างสรรค์ งานออกแบบบรรจุภัณฑ์
ศึกษาเกี่ยวกับ ความหมาย ความสำคัญและคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับความรู้สึกและการแสดงออก ปัญหาเกี่ยวกับความมีอยู่ของความงามการสร้างสรรค์
และการประเมินค่าความงาม รวมทั้งสุนทรียศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดช่วงเวลาให้คำปรึกษาเกี่ยวรายวิชาที่สอนวันละ 1 ชั่วโมง(สัปดาห์ละ5ชั่วโมง)
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดให้คำปรึกษานอกเวลาผ่าน Line   
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล  การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟต์แวร์
และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการสร้างสรรค์งาน อย่างมีคุณภาพ และมีคุณธรรมจริยธรรม
- บรรยายทฤษฎี ตามแผนการสอน พร้อมยกตัวอย่าง
- ใช้สื่อการสอนแบบ Computer Presentation ทั้งแบบ Online และ แบบ Offline
- มีการอภิปรายแบบกลุ่ม
- กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างจากห้องสมุด และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
- กำหนดให้ส่งงานตามที่กำหนดให้
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนดและตรงเวลา
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมา ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินผลการปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้เกี่ยวกับ ความหมาย ความสำคัญและคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับความรู้สึกและการแสดงออก ปัญหาเกี่ยวกับความมีอยู่ของความงาม
การสร้างสรรค์และการประเมินค่าความงาม รวมทั้งสุนทรียศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก
บรรยาย อภิปราย   การนำเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นคว้าหาข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับ สุนทรียศาสตร์  โดยนำมาสรุปและนำเสนอ โดยวิธี Student Center
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการค้นคว้าหาข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหารายวิชา และความสนใจของตนเอง
โดยการมอบหมายงานการฝึกการสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่กำหนด ตามเนื้อหาบทเรียนในแต่ละคาบ
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ สุนทรียศาสตร์
       พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการเตรียมโครงร่างและงานวิจัย
3.2 วิธีการสอน
      - การมอบหมายให้นักศึกษาทำรายงาน และนำเสนอผลการศึกษา
      - อภิปรายกลุ่ม
      สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิด ในการประยุกต์ใช้และอ้างอิงข้อมูล
- พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
      - พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
      - พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
      - จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
      - มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การค้นคว้างานที่เกี่ยวข้องกับสุนทรียศาสตร์ ศิลปะ
      - การใช้เทคโนโลยี มาช่วยในการเรียนการสอนเพื่อสร้างความสนใจในการเรียน          - การนำเสนอรายงานในเรื่องที่นักศึกษามีความสนใจ
      - ประเมินตนเอง   ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
      - รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม          - รายงานการศึกษาด้วยตนเอง        
- พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ ทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
      - พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
      - พัฒนาทักษะในการสืบค้น ทั้งแหล่งให้ความรู้และข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
      - ทักษะในการวิเคราะห์งานสุนทรีศาสตร์ ได้อย่างมีระบบ
- การมอบหมายให้นักศึกษาทำรายงาน และนำเสนอผลการศึกษา
 
ประเมินจากการรายงานผล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม การหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา เคารพในคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจ หลักการและทฤษฎีสำคัญของเนื้อหา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขา สามารถบูณาการความรู้ที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆ มีทักษะประยุกต์ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพ มีทักษะการนำความรู้มาคิด ใช้อย่างเป็นระบบ มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม ทำงานเป็นทีมและแก้ไขความจัดแย้งได้ สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยเพื่อแก้ไขปัญหา สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
1 40000004 สุนทรียศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4-2.6, 3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8, 17 35%, 35%
2 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4-2.6, 3.2, 4.1- 4.6,5.3-5.4 ศึกษา ค้นคว้า ผลงานตามที่มอบหมายและการส่งงานตามกำหนด ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1-1.7,3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็น ในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชาสุนทรียศาสตร์ รศ.วัฒนาพร เขื่อนสุวรรณ
เอกสารประกอบการสอนวิชาสุนทรียศาสตร์ ผศ.มนตรี เลากิตติศักดิ์
เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการสืบค้นรายวิชา เช่น http://issuu.com
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ขอเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
- ผลงานที่มอบหมายในคาบเรียน
- ผลการสอบ
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ