ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต

Sufficiency Economy and Wisdom of Living

1. ให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของไทย 2. ให้เข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ให้เข้าใจเกี่ยวกับหลักการทรงงานและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 4. ให้เข้าใจหลักธรรมาภิบาล  และทศพิธราชธรรม 5. ให้เข้าใจภูมิปัญญาไทย 6. นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต  แก้ไข
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการธรรมาภิบาล หลักการทรงงานตลอดจนโครงการพระราชดำริฯ 3. เพื่อให้ผู้เรียนได้นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
ศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หลักธรรมาภิบาล และการพัฒนาที่ยั่งยืน ภูมิปัญญาไทย การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- อาจารย์ประจำรายวิชาแจ้งช่องทางการส่งงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย - อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาในห้องเรียน - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายกลุ่มนอกเวลาตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะราย/กลุ่มที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้                 1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต                 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม                3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ                4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์                 5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม               6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการไม่อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี               7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1 อภิปรายกลุ่ม 2 ฟังสารคดีวิทยุ หรือดูวีดิทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา และให้สรุปข้อคิดเห็น 3 กำหนดให้นักศึกษาทำโครงการ หรือศึกษาของจริงที่เกี่ยวข้อง
1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย 1.2.2 ฟังสารคดีวิทยุ หรือดูวีดิทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา และให้สรุปข้อคิดเห็น 1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาทำโครงการ หรือศึกษาของจริงที่เกี่ยวข้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.มีความรู้ในทางการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง 2.มีความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 3.มีความรู้หลักธรรมาภิบาลและการพัฒนาที่ยั่งยืน ภูมิปัญญาไทย 4. มีความรู้การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
1. บรรยาย 2. การทำงานกลุ่ม และอภิปราย 3.การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.การมอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าตามบทเรียนในรายวิชา
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2. ประเมินจากการนำเสนอผลโครงการที่ศึกษา
1.พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างอย่างเป็นระบบ 2.มีการวิเคราะห์ เพื่อการศึกษาข้อมูลที่ถูกต้อง
1. การมอบให้นักศึกษาค้นคว้าทำรายงาน และการนำเสนอผลงาน 2. การทำงานเป็นทีม และอภิปรายกลุ่ม 3. วิเคราะห์กรณีศึกษา 
1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์แนวคิดในการศึกษาแต่ละบทเรียน 2 วัดผลจากการประเมินการค้นคว้ารายงาน การนำเสนอผลงาน 3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 2. พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 3. พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล  3. การฟังสารคดี ศึกษาวิดีทัศน์ หรือให้ค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา 4. การนำเสนอโครงการ
1 ประเมินจากความสนใจ ความรับผิดชอบในการเรียน การเข้าชั้นเรียน 2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 3 ประเมินจากรายงานการศึกษาค้นคว้ากรณีศึกษา
1. ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข 2. พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน  และนำเสนอในชั้นเรียน 3. พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 4. พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5. ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์  สื่อการสอนและทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 2. นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา สอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมให้กับนักศึกษา ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สอนสอดแทรกความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สอนสอดแทรกให้นักศึกษามีกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันของตนเองได้ ฝึกให้นักศึกษาเรียนรู้ที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นทั้งใน และนอกมหาวิทยาลัย โดยการลงพื้นที่ติดต่อประสานงานกับหน่วยงาน ชุมชนภายนอก และให้นักศึกษาฝึกความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ฝึกให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ในการสืบค้น หาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนในรายวิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1 GEBSO101 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 25% 10% 30%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน ความสนใจ การตอบคำถาม การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ทองทิพภา วิริยะพันธ์. เศรษฐกิจพอเพียง : ความพอเพียงมวลรวมในประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จี. พี. ไซเบอร์พริ้นส์, 2550. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก. คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์. สาขาวิชาสังคมศาสตร์. เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. ตาก : มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก, ม.ป.ป. วิทยาลัยการจัดการทางสังคม (วจส.) หลากหลาย พอเพียง ยั่งยืน. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยการจัดการทาง สังคม (วจส.), 2549. อุดมพร อมรธรรม. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : แสงดาว, 2549.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น “การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง” เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/pattamaglomnangnon/ สืบค้น 27 พฤษภาคม 2559 “ทฤษฎีใหม่,” เข้าถึงได้จาก : https://web.ku.ac.th/king72/2542-09/res05_02.html สืบค้น 4 พฤษภาคม 2559 “พระราชดำรัสด้านเศรษฐกิจพอเพียง,” เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/ningzaonline3/ สืบค้น 12 พฤษภาคม 2557 “หลักธรรมาภิบาล” เข้าถึงได้จาก : http://network.moph.go.th/km_ict/?p=360 สืบค้น 25 พฤษภาคม 2560 “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง,” เข้าถึงได้จาก : http://www.tupr.ac.th/sufficency2.html สืบค้น 18 พฤษภาคม 2559
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้       1. การอภิปรายกลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน       2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา       3.ข้อเสนอแนะ
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2 ผลการเรียนของนักศึกษา 3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1.ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา 2. นักศึกษาเข้าใจและเกิดการเรียนรู้ตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรรายวิชา การสอนบรรลุผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรรายวิชา โดยใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ