วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง

High Voltage Engineering

1) เข้าใจเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าแรงดันสูง และแรงดันเกินในระบบไฟฟ้ากำลัง และ แรงดันทดสอบ อุปกรณ์ 2) เข้าใจการสร้างแรงดันสูงเพื่อทดสอบแรงดันสูงกระแสสลับ กระแสตรงและแรงดันอิมพัลส์ 3) เข้าใจเทคนิคการวัดแรงดันสูงกระแสสลับ แรงดันสูงกระแสตรง และแรงดันอิมพัลส์ กระแสอิมพัลส์ 4) เข้าใจสนามไฟฟ้าความเครียดสนามไฟฟ้า และเทคนิคการฉนวน สนามไฟฟ้าในวัสดุเนื้อสารชนิด เดียวกัน และต่างชนิดกัน 5) เข้าใจการเบรกดาวน์ในฉนวนก๊าซ กระบวนการไอออไนเซชั่น และอาร์คทางไฟฟ้า 6) เข้าใจเทคนิคการฉนวนชนิดของแข็ง และฉนวนชนิดของเหลว 7) เพื่อเทคนิคการทดสอบแรงดันสูง และเทคนิคการทดสอบอุปกรณ์ทางไฟฟ้าแรงสูง 8) เข้าใจแรงดันเกินเนื่องจากฟ้าผ่า และการป้องกันฟ้าผ่า 9) ตระหนักถึงความสำคัญของ วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในศึกษาเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าแรงดันสูง และแรงดันเกินในระบบไฟฟ้า กำลัง การสร้างไฟฟ้าแรงสูงเพื่อทดสอบ เทคนิคการวัดไฟฟ้าแรงสูง ความเครียดสนามไฟฟ้า และเทคนิค การฉนวน การเบรคดาวน์ในก๊าซ ฉนวนเหลว ฉนวนแข็ง เทคนิคการทดสอบแรงดันสูง การประสาน สัมพันธ์ทางฉนวนในระบบไฟฟ้า แรงดันเกินเนื่องจากฟ้าผ่า การป้องกันฟ้าผ่า
ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าแรงสูง แรงดันเกินในระบบไฟฟ้ากำลัง การสร้างแรงดันสูง สำหรับการทดสอบ เทคนิคการวัดไฟฟ้าแรงดันสูง ความเครียดสนามไฟฟ้าและ เทคนิคการฉนวน การเบรกดาวน์ในแก๊ส ไดอิเล็กตริกของเหลวและของแข็ง เทคนิค การทดสอบด้านไฟฟ้าแรงสูง ฟ้าผ่าและการป้องกัน การจัดความสัมพันธ์ฉนวน
2
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา - ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต - มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม - สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ - เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น - เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม - มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
-ให้นักศึกษาแสดงและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลและสร้างสรรค์ในทุกการเรียนการสอน -ให้งานอย่างสม่ำเสมอและสอดคล้องกับเนื้อหา เพื่อฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหาโจทย์ - สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม โดยการพูดคุยเน้นความรับผิดชอบต่องาน วินัย จรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ตอ่ หน้าที่
ประเมินผลจากพฤติกรรมที่มีส่วนร่วมในชั้นเรียน เช่น การตั้งคำถาม การตอบคำถาม การแสดง ความเห็น การรับฟัง เป็นต้น - พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา - เวลาในการเข้าชั้นเรียนแต่ละสัปดาห์
มีความรู้ความเข้าใจระบบควบคุมแบบต่างๆ สามารถหาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบ ได้ และสามารถการวิเคราะห์ระบบควบคุมทั้งในเชิงเวลาและเชิงความถี่ได้ อีกทั้งสามารถออกแบบและ สร้างระบบควบคุมได้
บรรยายทฤษฎีอธิบายพร้อมตัวอย่างการคำนวณของแต่ละบท และให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการ ทำโจทย์ปัญหาในชั้นเรียนหลังการสอนแต่ละบท และสามารถซักถามข้อสงสัย วิเคราะห์เนื้อหาที่เรียน
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบปรนัยและอัตนัยที่เน้นการคิดวิเคราะห์ - การบ้านที่กำหนดให้จากแบบฝึกหัดท้ายบท
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา ความสามารถในการคิดและวิเคราะห์เหตุผลอย่างเป็นระบบ ความสามารถในการประยุกต์ความรู้ ที่ได้ เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการ
ให้นักศึกษาสามารถซักถามบทเรียน เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจก่อนที่ทำโจทย์ท้ายบท
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการคิดคำนวณและประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา
- นักศึกษาต้องส่งงานหรือการบ้านตรงที่ได้มอบหมายตามเวลาที่กำหนด - การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการคิด คำนวณ วิเคราะห์โจทย์ตัวอย่างในชั้นเรียน
- ประเมินจาการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา พัฒนาทักษะในการคิด วิเคราะห์โจทย์และการคำนวณที่ใช้พื้นฐานและสมมติฐานทางทฤษฎีได้ อย่างถูกต้อง
กำหนดให้ทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน เพื่อทดสอบความรู้ ความเข้าใจและฝึกทักษะการคิด คำนวณ และแก้ปัญหาโจทย์
ตรวจสอบการบ้านที่มอบหมาย
ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยคุณธรรมและจริยธรรมอย่างสม่ำเสมอ
มีคุณธรรม และจริยธรรม มีวินัยซื่อสัตย์สุจริต ตรงต่อเวลา
เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง
การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฏระเบียบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หมวด 4 (1.1-1.5),(2.1-2.6) (3.1-3.3),(4.1-4.3) การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมอภิปราย เสนอ ความคิดเห็นในชั้นเรียน การทำ แบบฝึกหัด รายงานที่มอบหมาย เป็นต้น 1-15 70:30
1.สำรวย สังข์สะอาด,“วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง”,ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,พ.ศ.2528 ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2549. 2. สุรพล ดำรงกิตติกุล,“วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง” : ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1 ,มกราคม 2535 3. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. “มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าสำหรับสิ่งปลูกสร้าง”. คณะกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า: มาตรฐาน วสท.,พิมพ์ครั้งที่ 1,ตุลาคม 2543.
นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา วิธีการสอน การจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การใช้สื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการให้ข้อเสนอแนะของนักศึกษา โดยนักศึกษาประเมิน ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย
ประเมินการสอนโดยคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภายในและภายนอก โดย พิจารณาจากคุณภาพการออกข้อสอบ การวัดผล การตัดเกรด ของผู้สอน ตลอดจนพิจารณาจากคุณภาพการ จัดทำแฟ้มสะสมงานการสอนรายวิชาของผู้สอน หรือเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอนที่จัดทำขึ้น
จัดให้มีสัมมนาการจัดการเรียนการสอนหรือให้คณาจารย์ในภาควิชาได้เข้าอบรมการเรียนการสอน เพื่อ ร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา สนับสนุน ให้ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์ การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน และให้มีการทำวิจัยในชั้นเรียน
มีการตั้งคณะกรรมการภายในสาขาวิชาหรืออาจารย์ประจำหลักสูตร ร่วมตรวจสอบผลการประเมินการ เรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีออกข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ การวัดผล และการตัดเกรด
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดย ผู้เรียน และคณะกรรมการบริหารหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง ให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนา ปรับปรุงพร้อมนำเสนอต่อสาขาวิชาเพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป