ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาที่ยั่งยืน

The King’s Philosophy and Sustainable Development

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1. รู้พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9)
          2. เข้าใจความหมาย หลักคิด หลักวิชา และหลักปฏิบัติของศาสตร์พระราชา
          3. รู้เกี่ยวกับโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
          4. รู้พระราชประวัติ แนวคิดพระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 10)
          5. เข้าใจหลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ
          6. รู้เกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
          7. น้อมนำศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อนำไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
2.1 เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
2.2 เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบันทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
1. คำอธิบายรายวิชา
                    ศึกษาเกี่ยวกับ ความหมาย หลักคิด หลักวิชา และหลักปฏิบัติของศาสตร์พระราชา พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) แนวคิดพระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 10) หลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา และการน้อมนำศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อนำไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
1 ชั่วโมง
การพัฒนาผลการเรียนรู้
  วิธีการสอน วิธีการวัดและประเมินผล 1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  
 
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
   
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ 2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
    2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
    2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง   
 
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้
3. อภิปราย สะท้อนคิด
4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
 
 
 
   
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ 3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
   3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
   
 
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้
3. อภิปราย สะท้อนคิด
4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
   
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ
 
 
  4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
    4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  
 
 
 
 
1. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
   
 
 
 
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
  5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
   5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
    5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   
 
 
 
 
 
 
 
 
1. ฐานความรู้
2. อภิปราย สะท้อนคิด
   
 
 
 
 
 
 
 
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ
การพัฒนาผลการเรียนรู้
  วิธีการสอน วิธีการวัดและประเมินผล 1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  
 
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
   
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ 2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
    2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
    2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง   
 
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้
3. อภิปราย สะท้อนคิด
4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
 
 
 
   
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ 3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
   3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
   
 
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้
3. อภิปราย สะท้อนคิด
4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
   
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ
 
 
  4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
    4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  
 
 
 
 
1. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
   
 
 
 
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
  5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
   5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
    5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   
 
 
 
 
 
 
 
 
1. ฐานความรู้
2. อภิปราย สะท้อนคิด
   
 
 
 
 
 
 
 
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ
การพัฒนาผลการเรียนรู้
  วิธีการสอน วิธีการวัดและประเมินผล 1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  
 
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
   
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ 2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
    2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
    2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง   
 
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้
3. อภิปราย สะท้อนคิด
4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
 
 
 
   
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ 3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
   3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
   
 
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้
3. อภิปราย สะท้อนคิด
4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
   
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ
 
 
  4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
    4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  
 
 
 
 
1. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
   
 
 
 
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
  5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
   5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
    5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   
 
 
 
 
 
 
 
 
1. ฐานความรู้
2. อภิปราย สะท้อนคิด
   
 
 
 
 
 
 
 
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ
การพัฒนาผลการเรียนรู้
  วิธีการสอน วิธีการวัดและประเมินผล 1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  
 
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
   
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ 2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
    2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
    2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง   
 
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้
3. อภิปราย สะท้อนคิด
4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
 
 
 
   
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ 3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
   3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
   
 
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้
3. อภิปราย สะท้อนคิด
4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
   
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ
 
 
  4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
    4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  
 
 
 
 
1. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
   
 
 
 
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
  5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
   5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
    5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   
 
 
 
 
 
 
 
 
1. ฐานความรู้
2. อภิปราย สะท้อนคิด
   
 
 
 
 
 
 
 
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ
การพัฒนาผลการเรียนรู้
  วิธีการสอน วิธีการวัดและประเมินผล 1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  
 
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
   
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ 2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
    2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
    2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง   
 
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้
3. อภิปราย สะท้อนคิด
4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
 
 
 
   
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ 3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
   3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
   
 
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้
3. อภิปราย สะท้อนคิด
4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
   
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ
 
 
  4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
    4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  
 
 
 
 
1. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
   
 
 
 
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
  5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
   5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
    5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   
 
 
 
 
 
 
 
 
1. ฐานความรู้
2. อภิปราย สะท้อนคิด
   
 
 
 
 
 
 
 
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ
การพัฒนาผลการเรียนรู้
  วิธีการสอน วิธีการวัดและประเมินผล 1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  
 
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
   
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ 2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
    2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
    2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง   
 
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้
3. อภิปราย สะท้อนคิด
4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
 
 
 
   
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ 3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
   3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
   
 
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้
3. อภิปราย สะท้อนคิด
4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
   
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ
 
 
  4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
    4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  
 
 
 
 
1. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
   
 
 
 
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
  5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
   5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
    5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   
 
 
 
 
 
 
 
 
1. ฐานความรู้
2. อภิปราย สะท้อนคิด
   
 
 
 
 
 
 
 
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงานที่มอบหมาย
6. การสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน 2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา 3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 1. กรณีศึกษา 2. ฐานความรู้ 3. อภิปราย สะท้อนคิด 4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน ใช้Active Learning/ Learning by Doing สอดแทรกหลักการ หลักวิชา ระหว่างการดำเนินกิจกรรม การสรุปท้ายสัปดาห์ ชุดกิจกรรม Warm up เพื่อสร้างความคุ้นเคยระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน เช่น กิจกรรม ปิดวาจาเรียงความสูง เรียงวันเกิด เรียงความยาวแขน, World café, การจัดกลุ่มย่อยผ่านกิจกรรม, กำหนดกติกาในชั้นเรียนร่วมกัน 1. ฐานความรู้ 2. อภิปราย สะท้อนคิด
1 GEBSO507 ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 3.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 2.1, 3.2, 4.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1, 3.2 การอภิปราย สะท้อนคิด ทุกสัปดาห์ 10%
4 2.1, 3.2 ฐานเรียนรู้ 4, 5, 6 ,15 40%
5 2.1, 3.2 สอบกลางภาค 25% สอบกลางภาค 9 25%
6 1.3, 2.1 การสอบปลายภาค 25% การสอบปลายภาค 17 25%
1. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2549). พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร: หจก. อรุณการพิมพ์.
2. กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2542). โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
และทฤษฎีใหม่ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย.
3. กฤติกา เพี้ยนศรี (บก.). (2551). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริกับการแก้ปัญหาสังคม.
ค้นเมื่อ 20 เมษายน 2562, จาก http://www.m-society.go.th/edoc_detail.php?edocid=247
4. กลุ่มงานชีววิถีเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. (2553). ชีววิถีเพื่อการพัฒนา
อย่างยั่งยืนสู่เศรษฐกิจพอเพียง. (พิมพ์ครั้งที่ 33). กรุงเทพมหานคร: กองผลิตสื่อการสื่อสารองค์การ
ฝ่ายสื่อสารองค์การ กฟผ.
5. กลุ่มพัฒนากรอบแนวคิดทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. (2546). กรอบแนวคิด
ทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ .
6. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546). ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์. กรุงเทพฯ:
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
7. เกษม วัฒนชัย. (2555). การเรียนรู้ที่แท้และพอเพียง. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน
8. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2546). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2546-
พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
9. คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ, สำนักงาน. (2542) .
ประวัติศาสตร์ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์
พับลิชชิ่ง.
10. คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ, สำนักงาน..(2556).
4,350 การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน. กรุงเทพฯ: บจก. สุขุมวิทมีเดีย มาร์เก็ตติ้ง.
11. โครงการฟื้นฟูลุ่มน้ำตามรอยพ่อ. (2564). การพัฒนาตามหลักกสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจ
พอเพียง.กรุงเทพมหานคร: บริษัท แอทโฟร์พริ้นท์ จำกัด.
12. จารุวรรณ ธรรมวัตร. (2543). ภูมิปัญญาลูกอีสาน. มหาสารคาม: โครงการตำรามนุษย์ศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
13. จิรายุ อิศรางกูล ณ อยุธยา. (2553). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการเพิ่มความสมดุลในการพัฒนา.
 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์.
14. ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). สอนเด็กให้มีจิตสาธารณะ. กรุงเทพฯ: วี พรินท์ (1991)
15. ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร ราชบัณฑิต. (2549). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับปัญหาเศรษฐกิจ
ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แสงดาว.
16. ทิศนา แขมณี. (2559). ถอดรหัสปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การสอนกระบวนการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 3).
กรุงเทพ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
17. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2542). การสร้างธรรมาภิบาล go๐d governance ในสังคมไทย.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
18. ประเวศ วะสี. (2550). เศรษฐกิจพอเพียงและประชาสังคม แนวทางพลิกฟื้นเศรษฐกิจสังคม. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.
19. ปราณี ตันตยาบุตร. (2550). ภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ธุรกิจบัณฑิตย์.
20. ปรียานุช ธรรมปิยา. (2555). วิกฤติเศรษฐกิจ 2540 กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพ ฯ :
ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ.
21. ปิยบุตร หล่อไกรเลิศ. (2547). เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: เอเซียแปซิฟิคส์ พริ้นดิ้ง.
22. ปิยะนุช สินันตา. (2556). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). น่าน:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
23. พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2541). ข้าราชการไทย “ความสำนึกและอุดมการณ์”. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
24. พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ. (2550). ในหลวงกษัตริย์นักพัฒนา : นวัตกรรมและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.
กรุงเทพมหานคร: บุ๊คสไมล.
25. พิณนภา แสงสาคร. (2557). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. เชียงใหม่: โครงการตำรา
แผนกวิชาสังคมศาสตร์ สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลล้านนา วิทยาเขตภาคพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ .
26. มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ. (2553). พัฒนากสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร:
คณะบุคคล เดอะ พับบลิช.
27. มูลนิธิชัยพัฒนา. (2550). เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนา
28. มูลนิธิพระดาบส. (2559). คำสอนพ่อ ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
พอเพียง. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพ
29. ยุทธ ศักดิ์เดชยนต์. (2522). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 4) . กรุงเทพฯ: อิมปริ้น
30. รงค์ ประพันธ์พงศ์. (2549). เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์
31. ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร และคณะ. (2547). รูปแบบการพัฒนานักเรียนระดับประถมศึกษาให้มี
จิตสาธารณะ:การศึกษาระยะยาว. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ. สถาบันวิจัยพฤติกรรม
ศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
32. ศักดิ์ชัย เกียรตินาคิน. (2542). ภูมิปัญญาชาวบ้าน ยาชุดวิเศษในการพัฒนา. วารสารวัฒนธรรมไทย.
36(9) : 2-4.
33. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. (2554). ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับสังคมไทย.
กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
34. สถาบันพระปกเกล้า. (2548). วัดระดับการบริหารจัดการที่ดี. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:
สถาบันพระปกเกล้าโดยการสนับสนุนของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เสมาธรรม.
35. สถาบันพระปกเกล้า. (2557). ทศธรรม : ตัวชี้วัดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. กรุงเทพมหานคร:
พิมพ์ลักษณ์.
36. สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2542). การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์
คบไฟ.
37. สมพร เทพสิทธา. (2548). เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด.
38. สมศักดิ์ อมรสิริพงศ์. (2551). การวิเคราะห์การก่อเกิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยปฏิฐานนิยมและ
หลังปฏิฐานนิยม. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
39. สำนักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ และ มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์. (2549). คำสอนพ่อ ประมวล
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสเกี่ยวกับความสุขในการดำเนินชีวิต. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์กรุงเทพ.
40. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2544). ความอยู่ดีมีสุขของคนไทย 5 ปี
หลังวิกฤตเศรษฐกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เพชรรุ่งการพิมพ์.
41. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2551). จากปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: เพชรรุ้งการพิมพ์.
42. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2544). แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ.2545-2549. กรุงเทพฯ: หจก.เม็ดทรายพริ้นติ้ง.
43. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2555). การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
44. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. (2552).
          การบริหารธุรกิจตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ.
45. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. ครูภูมิปัญญาไทยรุ่นที่ 3. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ชุมชนสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย.
46. สำนักพิมพ์วีทีเอสบุ๊คเซ็นเตอร์. (มปป ). เศรษฐกิจพอเพียงเกษตรกรรมยั่งยืนตามแนวโครงการ          พระราชดำริ 1-5 ไร่ พึ่งตนเอง. นนทบุรี: สำนักพิมพ์วีทีเอสบุ๊คเซ็นเตอร์.
47. สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ. (2555). ในหลวงของเรา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรินติ้ง
แอนด์พับลิซซิ่ง.
48. สุนันทา แซมเพชร. (2547). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเรื่อง แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นด้านอาชีพสำหรับครูประถมศึกษา จังหวัดสมุทรสงคราม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร
49. สุเมธ ตันติเวชกุล. (2543). ใต้เบื้องพระยุคลบาท. กรุงเทพมหานคร: มติชน.
50. เสรี พงศ์พิศ. (2536). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท เล่มที่ 1. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:
อมรินทร์พรินติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง.
51. อภิชัย พันธเสน. (2544). พุทธเศรษฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
52. อำพล เสนาณรงค์. (2541). ประมวลพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่.
กรุงเทพฯ.
53. อุดมพร อมรธรรม. (2559). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพระเจ้าอยู่หัว. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์แสงดาว.
54. http://ktbwsk.bloespot.com/2013/08/blogpost 2686.html จิตสาธารณะ.
55. http://oknation.nationtv.tv/blog/nakamonTH/2016/09/25/entry-1 ยุทธศาสตร์.
56. http:/www. sufficiencyeconomy.org. โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง.
57. http:/www.chaipattana.or.th มูลนิธิชัยพัฒนา. ทฤษฎีใหม่.
58. http:/www.chaipattana.or.th สรุปคำบรรยายเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ.
59. http:/www.trf.or.th สมภพ มานะรังสรรค์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. วิกฤตเศรษฐกิจฟองสบู่
และผลกระทบต่อประเทศไทย.
60. https://kkhdc.moph.go.th/intro/tammapipan.php หลักธรรมาภิบาล.
61. https://www.royaloffice.th/ จิตอาสา.
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
     การประเมินผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษา :
      1.1 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินผลผู้สอน และรายวิชานี้ทางเว็บไซด์ของมหาวิทยาลัย
      1.2 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในรายวิชานี้ในตอนท้ายของการเรียนการสอนปลายภาคเรียน
      1.3 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆที่จัดให้  
      1.4 นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน
 1.5 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรมฐานการเรียนรู้
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
      2.1 สังเกตพฤติกรรมความสนใจต่อการเรียนของนักศึกษา  (การซักถาม การร่วมอภิปราย การแสดง
            ความคิดเห็น)
      2.2 จากกิจกรรมกลุ่มย่อยในชั้นเรียน   นอกชั้นเรียน   งานมอบหมายในชั่วโมง
      2.3 จากการสังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม   การมีจิตอาสา   ความรับผิดชอบ  ตรงต่อเวลา
      2.4 จากผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
3. การปรับปรุงการสอน
      3.1 ปรับปรุงเอกสาร ตำราที่ใช้ในการเรียนทุกปีการศึกษาเพื่อแก้ไขเนื้อหาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ
      3.2 ให้นักศึกษานำเสนอสิ่งที่ต้องการให้เพิ่มเติมในวิชานี้
      3.3 นำผลการประเมินที่ได้จากนักศึกษามาปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น
      3.4 ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อช่วยแก้ปัญหาในเรื่องต่างๆที่มีผลกระทบต่อผู้เรียน
4.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
      4.1 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งด้านการเรียน การมีวินัย การเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา  ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย       
      4.2 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอื่นๆ ตามที่ได้เรียนไป ได้แก่ การแต่งกาย บุคลิกภาพ การปรับตัว, พฤติกรรมด้านจริยธรรม ฯลฯ
      4.3 ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
      4.4 การปรับปรุงพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และวิธีการนำเสนอตามที่ได้รับการแนะนำ 
 5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
      5.1 มีการปรับปรุงเนื้อหาอย่างสม่ำเสมอ ให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์
      5.2 เชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้ในเรื่องต่างๆตามที่นักศึกษาสนใจ
      5.3 ปรับปรุงกิจกรรมต่างๆให้มีข้อบกพร่องน้อยลงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
      5.4 พัฒนากิจกรรม/โครงการใหม่ๆที่ให้ประโยชน์แก่นักศึกษามาเป็นทางเลือกให้หลากหลายมากขึ้น
      5.5 พัฒนาเทคนิคการสอน  สื่อเทคโนโลยีการศึกษา ให้ทันสมัย น่าสนใจ  และนักศึกษาสามารถเรียนรู้
            ได้อย่างรวดเร็ว สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน