ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร

Chinese for Communication

1.เพื่อเรียนรู้ทักษะเบื้อต้นด้านการฟัง พูดในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
2.เพื่อพัฒนาการใช้ภาษาจีนให้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารและประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.เพื่อเรียนรู้วัฒนะรรมจีน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการสื่อสารภาษาจีนตามสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และเป็นพื้นฐานในการเรียนและการใช้ภาษา จีนในขั้นสูงต่อไป และเพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบและแนวปฏิบัติ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2564
ศึกษาภาษาจีนเบื้องต้นทางด้านการฟังและพูดสำหรับการสื่อสารในชีวิตประจำวัน ควบคู่กับเรียนรู้วัฒนธรรมจีน
 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1      มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.3      มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1      กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
 1.2.2    อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอน
1.2.3      ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
1.3.1      ประเมินผลการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
1.3.2      ประเมินผลความมีวินัย และความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3      ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่กำหนด
2.1.1      มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.1      ใช้รูปแบบการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ .ใช้บูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
2.3.1   การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
2.3.2  ประเมินจากการที่ได้รับมอบหมาย
3.1.1  มีทักะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2.1  ใช้รูปแบบการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.2.2  ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
3.3.1     บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
3.3.2     การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาในบริบทต่างๆ
4.1.1     มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
4.2.1     ดำเนินการสอนโดยกำหนดกิจกรรมกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น
4.3.1     ประเมินพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
5.1.1  ใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
5.2.1    ให้นักศึกษาติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.2    จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ และวัฒนธรรมสากล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 9 , 17 50%
2 ทดสอบย่อย (ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน) ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 การส่งงาน/การบ้านตามที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
สัมผัสภาษาจีน2 .—กรุงเทพฯ : สกสค.ลาดพร้าว,2550.
สนทนาภาษาจีน 301 ประโยค .—กรุงเทพฯ : เพ็ญวัฒนา บจก. 2005
ฟัง-พูด-อ่าน-เขียน เรียนจีนกลางฉบับสมบูรณ์ เล่ม 1—กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เอ็มไอเอส,2558.
- เว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาตลอดจนแบบฝึกหัดออนไลน์
1.1   การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2   แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3   ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ 
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ