ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ

Correspondence English for Tourism Business and Hospitality

1. เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ มีบุคลิกภาพและทักษะในวิชาชีพสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยว และงานบริการบนพื้นฐานของความเป็นไทย
2. เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวที่สามารถตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นและของประเทศ
3. เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมระเบียบวินัย ความซื่อสัตย์ มีใจรักงาน และสำนึกในจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบต่อสังคม ตระหนักในหน้าที่ที่จะต้องดำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพยากรศิลปวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทย
1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ และฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และเหมาะสมกับสถานการณ์การใช้สำหรับงานบริการในธุรกิจการท่องเทียวและโรงแรม
2. เพื่อให้สามารถใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร และการเขียน และพูดโต้ตอบในสถานการณ์ต่างๆต่างได้เหมาะสม  3. เพื่อให้เข้าใจในคำศัพท์เฉพาะ หรือรูปแบบสำนวนที่ใช้สื่อสารในการดำเนินงานระหว่างบุคลากรทางการท่องเที่ยวและโรงแรม และสามารสื่อสารกับผู้รับบริการได้
 
ศึกษาคำศัพท์ สำนวน รูปแบบภาษา ฝึกปฏิบัติใช้ภาษาอังกฤษในบริบททางธุรกิจด้านการท่องเที่ยวและโรงแรม มุ่งเน้นทักษะการเขียนเพื่อติดต่อสื่อสารและโต้ตอบทางธุรกิจการประชาสัมพันธ์ การทำแผ่นพับใบปลิว การเขียนจดหมายโต้ตอบกับลูกค้า การนำเสนอด้านการตลาดท่องเที่ยวและบริการ
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 2.1.1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ  2.1.1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ําเสมอ  2.1.1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนรวมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นํา และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น  2.1.1.4 มีวินัยในการทํางาน และปฏิบัติตามกฏระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.2 สอนคุณธรรม จริยธรรม สอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
1.2.6 การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
 
1.3.2 สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
 
2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและ ภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 
2.1.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง  
2.2.1 การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ 2.2.2 มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้า และทํารายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม
2.3.1 ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย้อย และให้คะแนน 2.3.2 ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค 2.3.3 ประเมินผลจากการทํางานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
3.1.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความ ขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 3.1.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึก ประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 
 
3.2.3 การทํางานที่ไดรับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา 
3.3.1 ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทํา
4.1.1  มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้
 
4.2.2 มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม 
4.3.1 ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทํางาน
5.1.1 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.2 มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 
 
5.2.1 ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการสอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ 
5.3.1 ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
6.1.1 มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 
6.2.3 ทดสอบทางด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการทํางานที่มีมาตรฐานสากล 
6.3.3 ประเมินผลจากผลสอบภาษาต่างประเทศที่มีมาตรฐาน 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 Class participation and attendance 1-17 10%
2 งานเขียน 6 งาน 2-17 40%
3 Mid-term examination 9 20%
4 Final examination 18 20%
5 Quiz ท้ายบท 8, 17 10%
Parisuthiman, S. (2000). Business Communication: A Functional Approach. Thammasart University Press.
Jones, L. (2002). English for the travel and tourism industry. Cambridge University Press.  Dubicka, I & O’Keeffe, M. (2003). English for International Tourism: Pre-intermediate Students' Book. Francis O’Hara (2010). English for the Hotel Industry. Cambridge University Press.
 
-
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย 
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้ 
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้ 
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย 
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้     
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์