นิเวศวิทยาทางน้ำ

Aquatic Ecology

จุดมุ่งหมายของรายวิชา รู้ความเป็นมาของการศึกษานิเวศวิทยาในแหล่งน้ำ เข้าใจระบบห่วงโซ่อาหาร สายใยอาหาร ในระบบนิเวศวิทยาของแหล่งน้ำ ทั้งในน้ำจืด น้ำกร่อย และทะเล เข้าใจกำลังผลิตและปัจจัยที่มีต่อกำลังผลิตในแหล่งน้ำ เข้าใจมลภาวะในแหล่งน้ำและแนวทางการควบคุมสมดุลของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศของแหล่งน้ำ เห็นความสำคัญของการศึกษานิเวศวิทยาทางน้ำ
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเพื่อให้ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน  เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ไปเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในรายวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปทางด้านนิเวศวิทยาในแหล่งน้ำ  ห่วงโซ่และสายใยอาหารในแหล่งน้ำ ทั้งน้ำจืด น้ำกร่อยและทะเล  กำลังผลิตของระบบนิเวศในแหล่งน้ำ  ระบบนิเวศในแหล่งน้ำ มลภาวะในแหล่งน้ำและแนวทางการควบคุมสมดุลของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศวิทยา
 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ข้อ 1.1.2 และ 1.1.3  เป็นความรับผิดชอบหลัก ข้อ 1.1.1 และ 1.1.3  เป็นความรับผิดชอบรอง
1.2.1  สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา 1.2.2  กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัย การรับผิดชอบงานมอบหมาย               1.2.3  นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบ หรือลอกการบ้านหรืองานของผู้อื่น               1.2.4  การนำข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่างๆมาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด               1.2.5  นักศึกษารู้จักแบ่งปันความรู้กับเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน
เข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานมอบหมายตามกำหนด และมีความพร้อมเพรียงในการเข้าร่วมกิจกรรมไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอก การบ้าน ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และการแสดงออกต่อส่วนรวม           1.3.4  ประเมินจากการไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ    2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ที่ศึกษา    2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา    2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง                 ข้อ 2.1.1 และ 2.1.3 เป็นความรับผิดชอบหลัก            ข้อ 2.1.2 เป็นความรับผิดชอบรอง
2.2.1 สอนแบบบรรยายและอภิปรายทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติเกี่ยวกับนิเวศวิทยาทางน้ำ 2.2.2 มอบหมายงานค้นคว้า เขียนรายงาน
2.3.1 การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค /สอบปากเปล่า ตลอดภาคการศึกษา 2.3.2 เนื้อหาและแหล่งข้อมูลในผลงานรายงานค้นคว้า 2.3.3 เนื้อหาและแหล่งข้อมูลในรายงานบทปฏิบัติการ
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ ข้อ 3.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก ข้อ 3.1.1 เป็นความรับผิดชอบรอง
3.2.1  กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้วิชาการด้านการประมงในชีวิตประจำวัน 3.2.2  การอภิปรายกลุ่ม เช่น การถามตอบ การสืบค้นข้อมูลโดยเทคโนโลยีสารสนเทศและนำมาอภิปรายในชั้นเรียน 3.2.3  ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง เช่น การลงมือปฏิบัติการ
3.3.1 โดยการทดสอบทักษะนักศึกษาในการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3.3.2 ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
 4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม                 ข้อ  4.1.1 และ 4.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก                 ข้อ  4.1.3 และ 4.1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
4.2.1 สอนแบบบรรยาย และสอนบทปฏิบัติการ
 4.2.2 มอบหมายงานที่ต้องส่งรายงานบทปฏิบัติการ  4.2.3 มอบหมายงานค้นคว้า เขียนรายงานและนำเสนอหน้าห้อง
4.3.1 การสอบข้อเขียน / ปากเปล่า 4.3.2 การส่งรายงานบทปฏิบัติการ 4.3.3 การนำเสนอผลงานปากเปล่า 4.3.4 เนื้อหาและแหล่งข้อมูลในผลงานรายงานค้นคว้า
 5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  5.1.2 สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากwebsite และทำรายงานโดยเน้นจากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 5.2.2 นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 การจัดทำรายงานและนำเสนอด้วยสื่อที่เหมาะสม 5.3.2 การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม 6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ                 ข้อ 6.1.1 และ 6.1.2 เป็นความรับผิดชอบรอง
6.2.1 กำหนดให้นักศึกษาฝึกทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานและอุปกรณ์ต่างๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสม
6.3.1 ประเมินการปฏิบัติการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์จริงในภาคสนาม 6.3.2 การปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 2 3 1
1 BSCAG302 นิเวศวิทยาทางน้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.3 การเข้าชั้นเรียน/การตรงต่อเวลา/ความสนใจ/การไม่ทุจริต ตลอดภาคการศึกษา 10
2 2.1.1,3.1.1,3.1.2 2.1.1,3.1.1,3.1.2 1.1.1,1.1.2,2.1, 2.1.3,4.1.4, 5.1.2 1.1.1,2.1.2,3.1.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค รายงานที่นักศึกษาจัดทำในแต่ละบทปฏิบัติการ การอภิปรายกลุ่ม 7 17 1,2,3,6,7,9,10,11,13, 15,16 2,4,6,9,11, 13,15 65
3 2.1.1,3.1.1,6.1.1 ปฏิบัติการ 1,2,3,6,7,9,10,11,13, 15,16 10
4 2.1.3,4.1.1,4.1.2, 4.1.3,5.1.3 การนำเสนองานในชั้นเรียน 3-5-10-15 10
5 5.1.1 สื่อที่ใช้ในการนำเสนองาน 3-5-10-15 5
- ธีระ เล็กชลยุทธ.2535. นิเวศวิทยาแหล่งน้ำ.เอกสารเรียบเรียง.คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.105 น. - ประมาณ พรหมสุทธิรักษ์.2531.เอกสารคำสอนวิชาชลธีวิทยา.คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.190 น. - R.S.K. Barnes and K.H. Mann.1991.Fundamental of Aquatic Ecology.The University Press, Cambridge.270 pp. - Michael Jeffries and Derek Mills.1990. Freshwater Ecology.London. 253 pp. - Kent W.Thornton,Bruce L,Kimmel Forrest,E. Payne.1991.Reservoir Limnology: Ecological perspectives. U.S.A. 283 pp.
- งานวิจัยเรื่อง ชนิดและปริมาณแพลงก์ตอนในบึงราชนก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก  -งานวิจัยเรื่อง ชนิดและปริมาณสัตว์หน้าดินในบึงราชนก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในลักษณะรายวิชา เช่น wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2  การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน 1.3  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้ ผลการสอบ
3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2  ปรับปรุงการสอนตามผลการประเมินผู้สอนเป็นรายวิชา
ระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา พิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจาการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2  การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา ดังนี้             5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี