การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
Production and Operations Management
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในระบบการผลิตและระบบบริการ และการออกแบบผลิตภัณฑ์
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการพยากรณ์ความต้องการ การวางแผนกำลังการผลิต การเลือกทำเลที่ตั้ง การวางแผนผังกระบวนการผลิต การวางแผนและควบคุมการผลิต การวิเคราะห์วิธีทำงาน และการควบคุมวัสดุและสินค้าคงคลัง
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และตัดสินใจในด้านการออกแบบและการวางแผนและการควบคุมที่เกี่ยวกับการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการของธุรกิจ และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้
4. เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะการนำหลักการทางคณิตศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจได้อย่างเหมาะสม
5. เพื่อให้นักศึกษาเพิ่มพูนคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคมส่วนรวม
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการพยากรณ์ความต้องการ การวางแผนกำลังการผลิต การเลือกทำเลที่ตั้ง การวางแผนผังกระบวนการผลิต การวางแผนและควบคุมการผลิต การวิเคราะห์วิธีทำงาน และการควบคุมวัสดุและสินค้าคงคลัง
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และตัดสินใจในด้านการออกแบบและการวางแผนและการควบคุมที่เกี่ยวกับการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการของธุรกิจ และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้
4. เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะการนำหลักการทางคณิตศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจได้อย่างเหมาะสม
5. เพื่อให้นักศึกษาเพิ่มพูนคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคมส่วนรวม
เป็นรายวิชาที่ปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในการจัดการเรียนการสอนสำหรับหลักสูตรการบริหารธุรกิจ และสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีและเศรษฐกิจของประเทศ
ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบการผลิตและระบบการบริการ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การวางแผนกำลังการผลิต การพยากรณ์ความต้องการ การเลือกทำเลที่ตั้ง การวางแผนผังกระบวนการผลิต การวางแผนควบคุมการผลิต การวิเคราะห์วิธีการทำงาน การควบคุมวัตถุดิบและสินค้าคงคลัง
นักศึกษาสามารถเข้าปรึกษาอาจารย์ผู้สอนได้ที่ห้องพักครูการจัดการธุรกิจ อาคารบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สัปดาห์ละ 5 ชั่วโมง และนอกจากนี้นักศึกษาสามารถตั้งคำถามและข้อสงสัยในแอปพลิเคชัน Microsoft Teams ได้ตลอดเวลา เมื่อผู้สอนเสร็จสิ้นภาระกิจการสอนแล้วจะทำการตอบคำถามและอธิบายอย่างละเอียด เพื่อให้นักศึกษาทุกคนที่ยังไม่เข้าใจเนื้อหาได้ทราบทั่วกัน
2. มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
จัดการเรียนการสอนด้วยการปลูกฝังให้ผู้เรียนมีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา ส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย รวมถึงสอดแทรกระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบและการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
ทำการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยการสังเกตุพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การส่งงานทันตามเวลากำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และการมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน และประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ทำการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยการสังเกตุพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การส่งงานทันตามเวลากำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และการมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน และประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ทำการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยการสังเกตุพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การส่งงานทันตามเวลากำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และการมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน และประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
ใช้วิธีการสอนแบบบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ การสอนความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติ จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอผลงาน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิด หลักการ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
ทำการประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาคการศึกษาจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ การนำเสนอผลงาน และการสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
ส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิดและการวิเคราะห์ด้วยโจทย์แบบฝึกหัด การมอบหมายงาน การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน รวมถึงศึกษาค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
ทำการประเมินผลการเรียนรู้จากการแก้โจทย์แบบฝึกหัด ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มโดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคล ทั้งภายในสถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา รวมถึงการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
ทำการประเมินผลการเรียนรู้จากรายงาน ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน รวมถึงสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
1. สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
มอบหมายงานที่ใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข ซึ่งในรายวิชานี้เนื้อหาส่วนใหญ่จะเป็นการคำนวณเชิงตัวเลข เช่น การพยากรณ์ความต้องการ การเลือกทำเลที่ตั้ง เป็นต้น มอบหมายงานที่มีการสืบค้นข้อมูลและการนำเสนอผลงานที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ประเมินผลจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลขเชิงคณิตศาสตร์ ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมาย การนำเสนอผลงานเป็นรายกลุ่ม และประเมินทักษะความสามารถในการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอผลงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
1. สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
6. จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร ในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
2. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
6. จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร ในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
1. ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2. พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษา มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
4. การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
2. พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษา มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
4. การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 2 | 3 | 1 | 2 | 2 | 2 | 1 | 1 |
1 | BBABA202 | การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 5.1.2, 5.1.3, 5.2.2 | การส่งแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
2 | 5.2.1, 5.2.2, 5.3.2, 5.4.2, 5.5.1, 5.6.1 | การศึกษาค้นคว้าและทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย รายบุคคลและรายกลุ่ม | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
3 | 5.1.2, 5.1.3, 5.4.2 | พฤติกรรมการเข้าเรียน การตอบคำถามและอภิปราย การมีส่วนร่วมในการทำงานเป็นทีม | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
4 | 5.2.1, 5.2.2, 5.3.2, 5.5.1 | สอบกลางภาค | 9 | 30% |
5 | 5.2.1, 5.2.2, 5.3.2, 5.5.1 | สอบปลายภาค | 17 | 30% |
1) ธนีนุช เร็วการ.(2564). เอกสารประกอบการสอน วิชา การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย.
2) กิตติ กอบัวแก้ว. (2557). การบริหารการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์.
3) เกียรติศักดิ์ จันทร์แดง. (2549). การบริหารการผลิตและการปฏิบัติการ. กรุงเทพมหานคร : วิตตี้ กรุ๊ป.
4) ชัยยศ สันติวงษ์. (2546). การบริหารการผลิต. กรุงเทพมหานคร : ประชุมช่าง.
5) บุษบา พฤกษาพันธุ์รัตน์. (2552). การวางแผนและควบคุมการผลิต. กรุงเทพมหานคร : ท้อป.
6) ปรียาวดี ผลเอนก. (2555). การบริหารการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
7) ศลิษา ภมรสถิตย์. (2551). การจัดการดำเนินงาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : ท้อป.
8) สาขาวิชาวิทยาการจัดการ. (2553). เอกสารการสอนชุดวิชา การจัดการการผลิตและดำเนินงาน และหลักการตลาด หน่วยที่ 1-8. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
2) กิตติ กอบัวแก้ว. (2557). การบริหารการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์.
3) เกียรติศักดิ์ จันทร์แดง. (2549). การบริหารการผลิตและการปฏิบัติการ. กรุงเทพมหานคร : วิตตี้ กรุ๊ป.
4) ชัยยศ สันติวงษ์. (2546). การบริหารการผลิต. กรุงเทพมหานคร : ประชุมช่าง.
5) บุษบา พฤกษาพันธุ์รัตน์. (2552). การวางแผนและควบคุมการผลิต. กรุงเทพมหานคร : ท้อป.
6) ปรียาวดี ผลเอนก. (2555). การบริหารการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
7) ศลิษา ภมรสถิตย์. (2551). การจัดการดำเนินงาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : ท้อป.
8) สาขาวิชาวิทยาการจัดการ. (2553). เอกสารการสอนชุดวิชา การจัดการการผลิตและดำเนินงาน และหลักการตลาด หน่วยที่ 1-8. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านแอปพลิเคชัน Microsoft Teams ที่เป็นช่องทางการสื่อสารระหว่างอาจารย์ผู้สอนกับนักศึกษา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านแอปพลิเคชัน Microsoft Teams ที่เป็นช่องทางการสื่อสารระหว่างอาจารย์ผู้สอนกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 ปรับปรุงเนื้อหาการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน
3.2 ปรับปรุงการมอบหมายงานรายบุคคลและรายกลุ่มเพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ได้อย่างเหมาะสม
3.1 ปรับปรุงเนื้อหาการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน
3.2 ปรับปรุงการมอบหมายงานรายบุคคลและรายกลุ่มเพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ได้อย่างเหมาะสม
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ