ประวัติศาสตร์เซรามิก

History of Ceramics

รู้ประวัติและลักษณะเฉพาะของเครื่องปั้นดินเผาตะวันออกและตะวันตก และเครื่องปั้นดินเผาไทย ในยุคสมัยต่าง รวมทั้งอุตสาหกรรมเซรามิก และการส่งออกของไทย เข้าใจความแตกต่างของเครื่องปั้นดินเผาตะวันออกและตะวันตกทั้งในด้านเนื้อดิน น้ำเคลือบ ลวดลายและเทคนิคการผลิตอุตสาหกรรมเซรามิกที่มีชื่อเสียงของประเทศทั่วโลก แนวโน้มอุตสาหกรรมเซรามิกในอนาคต
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านประวัติศาสตร์เซรามิกทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ตลอดจนอุตสาหกรรมเซรามิกให้ทันต่อยุคปัจจุบัน และศึกษาแบบอย่างเซรามิกที่มีชื่อเสียงของโลกเพื่อนำมาพัฒนา คลี่คลายและประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น
ศึกษาเกี่ยวกับ ประวัติและลักษณะเฉพาะของเครื่องปั้นดินเผาตะวันออกและตะวันตก และเครื่องปั้นดินเผาไทย ในยุคสมัยต่าง รวมทั้งอุตสาหกรรมเซรามิก และการส่งออกของไทย ความแตกต่างของเครื่องปั้นดินเผาตะวันออกและตะวันตกทั้งในด้านเนื้อดิน น้ำเคลือบ ลวดลายและเทคนิคการผลิตอุตสาหกรรมเซรามิกที่มีชื่อเสียงของประเทศทั่วโลก แนวโน้มอุตสาหกรรมเซรามิกในอนาคต
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจิตอาสาจิตสำนึกสาธารณะ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
               2.1.1  มีความรอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
               2.1.2  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหาและพัฒนาทางด้านเซรามิกอย่างเป็นระบบ
               2.1.3  มีความรู้ที่ในทางเซรามิกที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคมภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
บรรยาย  ยกตัวอย่าง
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากภาพเครื่องปั้นดินเผาในประวัติศาสตร์ที่ส่ง
3.1.2  สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.2.1   บรรยาย
3.2.2   แสดงภาพชิ้นงานในประวัติศาสตร์แหล่งต่างๆ
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการทำเครื่องปั้นดินเผา
3.3.2   วัดผลจากการประเมินภาพชิ้นงานในประวัติศาสตร์แหล่งต่างๆ
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.2   มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนองาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.2   สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยหลักการและแนวทางการแก้ปัญหา
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BTECE104 ประวัติศาสตร์เซรามิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สอบกลางภาค สอบปลายภาค งานที่มอบหมาย จิตพิสัย สอบกลางภาค สัปดาห์ที่8 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 งานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรียน จิตพิสัย สอบกลางภาค 25% สอบปลายภาค 25% งานที่มอบหมาย 40% จิตพิสัย 10%
1. จอห์น ซี ชอว์ แปลโดย สมพร วาร์นาโด เอมอร ตรูวิเชียร และอุษณีย์ ธงไชย. (มปป.) เครื่องปั้นดินเผาไทย เอกสารวิชาการชุดเครื่องปั้นดินเผา ลำดับที่ 1 ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มปท.
2 .บริษัทโอสถสภา (เต็กเฮงหยู) จำกัด (มปป.) เครื่องถ้วยในเอเชียอาคเนย์ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 15-22 กรุงเทพ : รุ่งเรืองรัตนา
3.ปริวรรต ธรรมาปรีชากร และกฎษดา พิณศรี. (2533) เครื่องถ้วยในประเทศ. กรุงเทพฯ: แอคมี พริ้นติ้ง.
4.ปริวรรต  ธรรมาปรีชากร สว่าง เลิศฤทธิ์ และกฤษฎา  พิณศรี. (2539)ครั้งที่ 2. ศิลปะเครื่อง               ถ้วยในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : กราฟิคฟอร์แมท
5. เปี่ยมสุข  เหรียญรุ่งเรือง. (มปป.)  ประวัติศาสตร์เครื่องปั้นดินเผา เล่ม 1 ยุคโบราณและตะวันออกไกล. (เอกสารคำสอนประกอบรายวิชาประวัติเครื่องเคลือบดินเผา) คณะมัณฑนะศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
6. ภุชชงค์ จันทวิช, ณัฏฐภัทร จันทวิช และสิงห์คม หงษ์จินตกุล. (บรรณาธิการ) (2542) เครื่องถ้วยเบญจรงค์และลายน้ำทอง (โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย). กรุงเทพฯ : มรดกไทย.
7. ศรีศักร  วัลลิโภดม. และคณะ (2528) เครื่องปั้นดินเผาและเครื่องเคลือบกับการพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของสยาม : โครงการศิลปอุตสาหกรรมไทยชุดที่ 1. กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองรัตน์
8.สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติร่วมกับวิทยาลัยครูเชียงใหม่และศูนย์วัฒนธรรมประจำจังหวัดต่างๆ ในภาคเหนือ. (2524). เชิดชูเกียรตินายไกรศรี นิมมานเหมินทร์. ไตรรงค์การพิมพ์.
9. สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ กรมศิลปากร. (2539). โบราณคดีวิเคราะห์2 : เครื่องถ้วยบุรีรัมย์และเครื่องถ้วยสุโขทัย. กรุงเทพฯ: ดอกเบี้ย.
10. สถาบันราชภัฏอุดรธานี.(2539). บ้านเชียง : ทศวรรษใหม่ในการศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดี. เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาก. อุดรธานี : สถาบันราชภัฏอุดรธานี.
11. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2544) แผนแม่บทอุตสาหกรรมเซรามิกส์. แผ่นบันทึกข้อมูล โปรแกรมพาวเวอร์พอยท์
12.สาโรจน์  มีวงษ์สม.(2541). เครื่องถ้วยในประเทศไทย. กรุงเทพ : เอส ที พี เวิลด์ มีเดีย.
13. สุจิตต์  วงษ์เทศ(บรรณาธิการ). (2528). เครื่องปั้นดินเผาและเครื่องเคลือบกับการพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของสยาม. กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองรัตน์
14. สุรพล  พิทักษ์ลิ้มสกุล. (มกราคม-เมษายน 2546) โลกกว้างทางเซรามิกส์ : เซรามิกส์ของโลกอิสลาม. วารสารเซรามิกส์.
15.ห้องปฏิบัติการเครือข่ายเซรามิก เนื้อดิน และเคลือบ ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบดินเผา และศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ. (2544) “เทคนิคการทำเคลือบสไตล์ญี่ปุ่น.”ลำปาง : จิตวัฒนาการพิมพ์.
16. Andrews,Tim.(1997). Raku. Singapore ; Tien Wah Press.
17. Ayers J. (1980). Far Eastern Ceramics in the Victoria and Albert Museum. (2nd. ed.). Japan:
18.Brown M. Roxanna (1988). The Ceramics of South-East Asia Their Dating and Identification . (2nd ed) Singapore : Oxford University
19.Cooper, Emmanuel. (2000).Ten Thousand Years of Pottery. 4ed. London ; British Museum Press.
20. Diana  Stock. (1981). Khmer Ceramics 9 th-14 th Century. Singapore : Southeast Asian Ceramic Society.
21. Emmauel Cooper. (2000) rd. Ten Thousand years of Pottery London : British Museum.
22. Graham Flight. (1991).Introduction To Ceramics. New Jersey : Prentice Hall.
23.Guy John. (1989). Ceramic Traditions of South-East Asia. Newyork : Oxford University Press.
24. Li Hi. (1996). Chinese Ceramics. Singapore ;Thame and Hudson - Manners, Errol.(1990). Ceramics Source Book. Hongkong ; Regent Publishing.
25.Manners, Errol and Morley-Fletcher, Hugo.(1995).rv. Ceramics Source Book. Singapore ; Star Standard Industries.
26.Rice M, Prudence. (1987). Pottery Analysis. Chicago: The University of Chicago Press.
27. Robert, j Charleston. (1990)  World Ceramics an Illustrated History (20 th) London : The Hamlyn Pulishing Group Limited.
28. Robinson V. Natalie. (1982).Sino-Thai Ceramics. Bangkok : United Production.
ไม่มี
29.http://en.wikipedia.org/wiki/Korean_pottery
30.http://www.e-yakimono.net/guide/html/bizen.html
31.http://www.kougei.or.jp/english/crafts/0418/f0418.html
32.http://www.metmuseum.org/toah/hd/chpo/hd_chpo.htm
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์