สถิติ

Statistics

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1. รู้ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
2. เข้าใจวิธีการหาความน่าจะเป็น
3. เข้าใจการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
4. เข้าใจหลักการประมาณค่าและทดสอบสมมติฐาน
5. เข้าใจหลักการทดสอบไคสแควร์ประยุกต์
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ทางสถิติเพียงพอที่จะไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ และฝึกให้เป็นคนมีเหตุผลและรอบคอบ  มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
               ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางสถิติ ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแจงของตัวแปรสุ่ม การสุ่มตัวอย่าง การแจกแจงของค่าสถิติ การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐานกลุ่มเดียวและสองกลุ่ม และการทดสอบไคสแควร์
 
The study of preliminary statistics, probability, random variable, random variable distribution, Sampling, Sampling distribution, estimation and hypothesis testing of one and two sample, and chi-square testing.
3.1 วันพุธ-พฤหัสบดี  เวลา 13.00 - 16.00 น. ห้อง 16203 อาคารปฏิบัติการเกษตรปลอดภัย
3.2  e-mail: ssophana@rmutl.ac.th ทุกวัน
3.3 ไลน์กลุ่มเรียน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
      1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
    1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ก่อนเรียนเนื้อหาทุกครั้งฝึกให้นักศึกษามีวินัย ตรงต่อเวลา รู้จักรับผิดชอบ
2. มอบหมายงาน แบบฝึกหัด
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. ความมีวินัยและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- การสอนแบบตั้งคําถาม
- มอบหมายงาน
1. การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
2.ทดสอบย่อย
3.ข้อสอบอัตนัยหรือปรนัย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การมอบหมายงานโดยการไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นกลุ่มแล้วทำรายงานส่ง
2. ยกตัวอย่างในเนื้อหารายวิชาให้แสดงการคิด แก้ปัญหาอย่างมีระบบ
3. การมอบหมายงาน โดยให้ทำแบบฝึกหัดเพื่อทบทวน
1. การสังเกต
2. การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
3.ข้อสอบอัตนัยหรือปรนัย
4.ทดสอบย่อย
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล โดยกำหนดขอบเขตงานเป็นการไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติม และยกตัวอย่างประกอบการนำความรู้ที่ได้จากบทเรียนไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์จริงได้อย่างเหมาะสม
1. การสังเกต,การประเมิน
2. การนำเสนองาน
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
      5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้ Power point  
2. มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2.ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3.ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1 FUNMA109 สถิติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1, 2.3, 3.1, 3.2 ทดสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 1.3, 2.1, 2.3, 3.1, 3.2 สอบกลางภาค 8 30%
3 1.3, 2.1, 2.3, 3.1, 3.2 สอบปลายภาค 17 30%
4 1.1,1.3, 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.1, 5.2 ผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย (การบ้าน) การส่งงานตามเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 1.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปรายและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการเรียน วิชาสถิติ
-
         กัลยา วานิชย์บัญชา. หลักสถิติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2554
       คณาจารย์ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สถิติเบื้องต้น. เชียงใหม่ : คณะ 
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2541
       ชัชวาล เรืองประพันธ์. สถิติพื้นฐาน. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2542
 ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท์. ความน่าจะเป็นและสถิติประยุกต์ เล่ม 1-2. กรุงเทพฯ: สกายบุ๊กส์. 2546
       ศิริลักษณ์ สุวรรณวงศ์. หลักสถิติเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล. 2539
       อนุรักษ์ นวพรไพศาล. สถิติ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ. 2546
- แบบประเมินผู้สอน 
- การสังเกตการณ์ในการสอน
- ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
- แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
- การทำวิจัยในชั้นเรียน
 - ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ทำแบบฝึกหัดประมวลความรู้ แล้วนำเสนอแนวความคิดในท้ายบทเรียน
 - การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
 - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา เช่น ตรวจสอบข้อสอบ
- ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์
- นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา