การศึกษานอกสถานที่งานศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์

Art and Creative Design Field Trip

1. เพื่อให้รู้ความสำคัญของการศึกษานอกสถานที่ทางด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
2. เพื่อให้รู้ความสำคัญของการศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ
3. เพื่อให้เข้าใจกระบวนการวางแผน การดำเนินงาน และการประเมินผลการศึกษาดูงาน
4. เกิดทักษะ ประสบการณ์ หรือโลกทัศน์ ในการศึกษาดูงานที่สามารถนำมาประยุกต์ในงานศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
5. เกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของการศึกษาดูงานนอกสถานที่ 
เพื่อให้หลักสูตรมีความสอดคล้องกับบริบทสังคมปัจจุบัน ทั้งด้านผู้เรียน ผู้สอน กระบวนการจัดการเรียนการสอน และการวัดประเมินผล
เสริมสร้างประสบการณ์และโลกทัศน์ในการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ด้วยการศึกษาดูงานในประเทศและต่างประเทศ นักศึกษาจะได้มีโอกาสในการเยี่ยมชมงานพิพิธภัณฑ์เฉพาะทางที่เกี่ยวกับงานสร้างสรรค์ในสาขาต่างๆ และเยี่ยมชมสำนักงานออกแบบ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักออกแบบชาวไทยและชาวต่างชาติ
2 ชั่วโมง
มีจิตสำนึกสาธารณะและความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม

เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1) บรรยายหรือปลูกจิตสำนึกในการใช้วิชาชีพเพื่อช่วยเหลือผู้คนในระดับต่างๆ
2) บรรยายหรือชี้ให้เห็นความสำคัญของจรรยาบรรณของนักวิชาการและนักวิจัย
3) บรรยายให้เห็นความสำคัญของเวลาเรียน และความรับผิดชอบ
1) สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน 
2) สังเกตจากพฤติกรรมหรืองานปฏิบัติของผู้เรียน
3) เวลาการเข้าชั้นเรียน รวมถึงการลา การสาย การขาด 
1) มีความสามารถในการวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้คำปรึกษาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ แก่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
     1) บรรยายความรู้เชิงลึกเกี่ยวกับการศึกษาดูงานและแนวทางการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความรู้ที่ได้จากการวิเคราะห์ / สังเคราะห์
2) สอนแบบบรรยายให้เห็นความสำคัญของความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาดูงาน
3) สอนแบบบรรยายความรู้เกี่ยวกับการศึกษาดูงาน เพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับงานด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
1) ข้อสอบกลางภาค และปลายภาค
2) การนำเสนอ หรือรายงานเนื้อหาเกี่ยวกับกรณีศึกษา ทางด้านการศึกษาดูงานนอกสถานที่
3) รายงาน หรือผลงานนำเสนอ  ที่นำไปประยุกต์ใช้กับงานศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1) สอนแบบบรรยายควบคู่กับปฏิบัติ แนวทางการศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ
2) สอนแบบบรรยาย ในประเด็นเกี่ยวกับศึกษาดูงาน พร้อมให้วิเคราะห์และสังเคราะห์
1) รายงานสรุปจากการศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ
2) ผลงานจากการวิเคราะห์และสังเคราะห์จากประเด็นศึกษาดูงาน
1)  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3)  สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1)  สอนแบบบรรยายเกี่ยวกับการเก็บข้อมูลศึกษาดูงานจากแหล่งต่างๆ
2) สอนแบบบรรยายเกี่ยวกับภาวะการเป็นผู้นำทางด้านวิชาการ
3)  สอนแบบบรรยายเกี่ยวกับการทำงานเป็นกลุ่ม
4) สอนแบบบรรยายเกี่ยวกับการนำความรู้จากการศึกษาดูงานมาประยุกต์ใช้ ในงานบริการวิชาการ
1) พฤติกรรมของผู้เรียนที่แสดงออกในด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
2) การนำแสดงความคิดเห็น การอภิปราย
3)  ผลงานกิจกรรมในการเป็นผู้นำทางด้านวิชาการ
4)  ผลงานของผู้เรียนจากการศึกษาดูงานที่นำมาประยุกต์ใช้เพื่อการบริการวิชาการ
 
1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1) สอนบรรยายเกี่ยวการแหล่งข้อมูลในการศึกษาดูงาน และให้สืบค้นโดยใช้สารสนเทศต่างๆ 
2) สอนบรรยาย แล้วมอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาดูงาน แล้ววิเคราะห์เครื่องมือสารสนเทศที่เหมาะสม
3) สอนบรรยายเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลทั้งในและต่างประเทศเกี่ยวกับการศึกษาดูงาน แล้วมอบหมายงานให้ศึกษาบทความทั้งภาษาไทยและอังกฤษ
1) ผลงานสืบค้นที่ใช้เครื่องมือสารสนเทศที่เหมาะสม
2) ผลงาน / รายงาน  ที่สอดคล้องกับประเภทของสื่อสารสนเทศ
3) เนื้อหาบทความจากการศึกษาค้นคว้า ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 MAAAC123 การศึกษานอกสถานที่งานศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 ความรู้ สอบกลางภาคและปลายภาค 9 และ 17 กลางภาค ร้อยละ 15 ปลายภาค ร้อยละ 15
2 3.1 ทักษะทางปัญญา 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานการศึกษาดูงาน การอภิปราย และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 60
3 1.1 คุณธรรม จริยธรรม พฤติกรรมในชั้นเรียน การส่งงาน ความรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละะ 10
1.1 กระทรวงวัฒนธรรม. (2555). อนุสัญญามรดกโลก. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2555, จาก http://www.thaiwhic.go.th/ convention.aspx
1.2 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2553). รายงานประจำปี 2552. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2555, จาก http://thai.tourismthailand.org/about-tat/annual-report
1.3 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, กระทรวงมหาดไทย. (2550). มาตรฐานการส่งเสริมการท่องเที่ยว [เอกสารเผยแพร่]. กรุงเทพ: ผู้แต่ง.
1.4 ไพริน เวชธัญญะกุล .(2563). การท่องเที่ยวเชิงนิเวศสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ในวารสารเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน 2020 ปีที่ 2 (1) มกราคม – มิถุนายน  2563 หน้า 1-14.
1.5  สมเกียรติ ชัยพิบูลย์. (2551). การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนนครชุม อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชรรายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร มีนาคม 2551.
 
2.1  แผนที่ เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ในประเทศไทย
2.2  รายงานสรุปและประเมินผลการศึกษาดูงาน
2.3 โครงการศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ
3.1 เอกสารและข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ
3.2 เอกสารและข้อมูลแผนพัฒนาบุคลากรด้วยการศึกษาดูงาน
3.3  เอกสารและข้อมูลเกี่ยวกับ แหล่งเรียนรู้เชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศน์ และเชิงวิชาการ
3.4 พิพิธภัณฑ์และชุมชนท้องถิ่นต่างๆ
1.1 การสนทนากลุ่ม ระหว่างผู้สอนกับผุ้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตการสอนของผู้สอนและผู้สอนร่วม
2.2 ผลการเรียนของ นักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 การประเมินวิธีการสอนของอาจารย์
3.2 การปรับปรุงวิธีการทวนสอบให้เหมาะสมกับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ นอกหลักสุตร
4.2 ตั้งกรรมการในสาขาวิชา เพื่อตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ รวมถึงการให้คะแนนพฤติกรรม
4.3 เลือกวิธีการทวนสอบที่หลากหลาย หรือที่เหมาะสมกับผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
5.1 การปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี  หรือตามข้อเสนอแนะของผู้ที่เกี่ยวข้อง
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองที่หลากหลายมากขึ้น
5.3 ปรับปรุงรายวิชาให้สอดคล้องกับปรัชญา พันธกิจของคณะ / มหาลัย