แคลคูลัสมูลฐานสำหรับวิศวกร

Fundamental of Calculus for Engineers

1. นำการแก้ระบบสมการเชิงเส้นด้วยเมทริกซ์ไปใช้
2. นำฟังก์ชัน ลิมิตและความต่อเนื่องไปใช้
3. นำอนุพันธ์และการประยุกต์ไปใช้
4. นำการหาปริพันธ์ และเทคนิคของการหาปริพันธ์ไปใช้
5. นำการประยุกต์ของปริพันธ์จำกัดเขตไปใช้
6. นำการหาปริพันธ์ไม่ตรงแบบไปใช้
7. เป็นวิชาพื้นฐานในการศึกษาวิชาแคลคูลัสชั้นสูงและวิชาชีพทางด้านวิศวกรรม
8. เป็นการส่งเสริมประสบการณ์ของผู้เรียนในด้านการฝึกสมองอันเป็นแนวทางทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และ แก้ปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง
 
 
เพื่อจัดทำรายวิชาให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 25565
ศึกษาเกี่ยวกับการแก้ระบบสมการเชิงเส้นด้วยเมทริกซ์ ฟังก์ชัน ลิมิตและความ ต่อเนื่องของฟังก์ชัน การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันและการประยุกต์ การหาปริพันธ์ ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ และปริพันธ์ไม่ตรงแบบ
3.1 กำหนดให้คำปรึกษานอกชั้นเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / รายวิชา 3.2 กำหนดวัน - เวลา (ขึ้นกับตารางสอนของอาจารย์ผู้สอนที่ว่าง) โดยประกาศให้ทราบทั่วกันในห้องเรียน
1.1.1. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3. มีคุณธรรมของความเป็นผู้นำและผู้ตาม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพใน
คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4. ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.2.1. บอกข้อปฏิบัติในการเรียน เกี่ยวกับการเข้าห้องเรียนและเช็คชื่อเข้าเรียน การส่งงานที่มอบหมาย
1.2.2. กำหนดกฎระเบียบ การแต่งกาย การใช้ห้องเรียนและอุปกรณ์ ตลอดจนการช่วยดูแลสภาพแวดล้อมรอบๆ ห้องเรียน และบริเวณอาคารเรียน
1.3.1. เช็คชื่อหรือตรวจสอบการเข้าเรียน และตรวจสอบการส่งงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย 1.3.2. บันทึกพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา ขณะที่เรียน 1.3.3  สังเกต การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตน ในข้อตกลงที่กำหนดไว้
มีความรู้ในการแก้ระบบสมการเชิงเส้นด้วยเมทริกซ์ ฟังก์ชั่น ลิมิตและความต่อเนื่อง การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตและฟังก์ชันอดิสัย การประยุกต์ของอนุพันธ์ ปริพันธ์ และเทคนิคการหาปริพันธ์ ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์  และปริพันธ์ไม่ตรงแบบ
1. บรรยาย
2.สาธิตการใช้อุปกรณ์ และสื่อการสอน
3. นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยสอนหรือประกอบบทเรียน  
2.3.1. การสอบ 2.3.2. การตรวจงานที่มอบหมาย 2.3.3. ซักถามและรายงาน ผลงานที่ได้รับมอบหมาย
3.1.1. เข้าใจปัญหา และรูปแบบทางคณิตศาสตร์ 3.1.2. มีลำดับขั้นตอนในการคิด คำนวณ อย่างมีระบบ
3.2.1. อธิบาย นิยาม ความหมาย กฎและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3.2.2. การยกตัวอย่างในเนื้อหารายวิชาให้แสดงการคิด แก้ปัญหาอย่างมีระบบ 3.3.3. มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
3.3.1. ประเมินผลงานนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย 3.3.2. นักศึกษารายงานที่มอบหมาย
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1. ในขั้นตอนนำเข้าสู่บทเรียน แทรกด้วยการแนะนำ 4.2.2. สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ตามโครงการสอนรายวิชา ที่ผู้สอนจัดทำ)
4.2.3 จัดกลุ่มเรียนเพื่อมอบหมายงานค้นคว้าเพิ่มเติม
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด

4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม

4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง 
5.1.1. ทักษะการคิดคำนวณ และการแก้โจทย์ปัญหาได้ การใช้โปรแกรมการคำนวณทางคณิตศาสตร์  
5.2.1บรรยาย และยกตัวอย่างการคำนวณ 
5.2.2. สาธิตการใช้อุปกรณ์ในการคำนวณ และการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางคณิตศาสตร์ 
5.3.1 ตรวจงานทุกหน่วยเรียน 5.3.2 ติดตามงานที่มอบหมายให้ค้นคว้าเพิ่มเติม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้าน ทักษะทาง ปัญญา 4.ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการ วิเคราะห์เชิงตัวเลขการ สื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 FUNMA110 แคลคูลัสมูลฐานสำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
สมพงษ์ แจ่มยวง และคณะ (2552). แคลคูลัส 1 (ปรับพื้นฐาน). พิมพ์ครั้งที่ 1. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น.

บุปผา ไกรสัย, แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรม 1, ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, พฤษภาคม, 2548.

ศรีบุตร แววเจริญ และ ชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง, คณิตศาสตร์วิศวกรรมศาสตร์, ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะ คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2545

ภาควิชาคณิตศาสตร์ แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมศาสตร์1 คณะวิทยาศาสตร์ มหาลัยเชียงใหม่ ,เชียงใหม่ : พิมพ์ครั้งที่ 2 ,2542

ปราโมทย์ ประเสริฐ คณิตศาสตร์2 มหาวิทยาลัยนเรศวร , พิษณุโลก : พิมพ์ครั้งที่ 2 , 2542

ANTON HOWARD Calculus with Analytic Geometry , Fourth Edition , JOHN WILEY & SONG, INC ,1992
 
จินดา อาจริยะกุล. (2540). อนุพันธ์และการประยุกต์. ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. พิมพ์ครั้งที่ 7 กรุงเทพมหานคร : พิทักษ์การพิมพ์.
 
จินดา อาจริยะกุล.(2538). Integral และการประยุกต์. ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. พิมพ์ครั้งที่ 7 กรุงเทพมหานคร : พิทักษ์การพิมพ์.
 
ชัยประเสร็ฐ แก้วเมือง. (2555). แคลคูลัส 11. ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์.
 
ดำรง ทิพย์โยธา, ยุวรีย์ พันธ์กล้า และ ณัฏฐนาถ ไตรภพ. (2556). แคลคูลัส ๑. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วรรณา ไชยวิโน.(มปป) แคลคูลัสและเราขาคณิตวิเคราะห์ 2. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
 
Thomas, G., et al. Thomas’ Calculus Early Transcendentals Update. MA: Addison-
Wesley, Inc., 2003.
John Thomas, Thomas’ Calculus, Pearson education Indochina ltd , 2005. Monty J. Strauss, Gerald L. Bradley and Karl J.Smith., Calculus. 3rd Edition, Prentice-Hall Inc., 2002. Anton, H., Bivens, I.C., Davis, S. Calculus Late Transcendentals. New York: John Wiley
and Sons, Inc., 2010.
Bradley L. Gerald & Smith J.Karl. (1995). Calculus. New Jersey: Prentice – Hall, Inc. Ewen Dale, Joan S. Gary & E. Trefzger. (2002). Technical Calculus. New Jersey : Pearson Education, Inc. McGraw–Hill Companies. Stewart James.(1999). Calculus, Fourth edition. New York.
Brooks/Cole Publishing Company
Tan, Soo Tang. (2002). Applied Calculus for the Managerial, Life, and Social Sciences. 5th ed. USA : Thomson Learning.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์