การออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม

Product Design for Environment

รู้และเข้าใจทฤษฎีเกี่ยวกับแนวคิดการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยคำนึงถึงโครงสร้างสังคมไทย สิ่งแวดล้อม และข้อกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ทางด้านสิ่งแวดล้อม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ  ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านวัสดุ และเทคโนโลยีที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย รวมถึงกฎหมายและข้อกำหนดต่างๆ ทางด้านสิ่งแวดล้อม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติสิ่งแวดล้อมและกระบวนการของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่  กลยุทธ์ของผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การประเมินความต้องการของลูกค้าและผู้ใช้   แนวคิดเพื่อสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์วัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ และการออกแบบเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งนศ.ให้รับทราบในชั่วโมงแรกของการเรียน
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ในการออกแบบอย่างยั่งยืนโดยคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

มีจิตสำนึกสาธารณะและความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือ

1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอย่างยั่งยืน   อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ในการออกแบบอย่างยั่งยืนโดยคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
มีจิตสำนึกสาธารณะและความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ วิธีการสอน 
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอย่างยั่งยืน   อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ 1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
            ความรู้เกี่ยวกับแนวความคิดการออกแบบอย่างยั่งยืน การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และการออกแบบสถาปัตยกรรม โดยคำนึงถึงโครงสร้างสังคมไทย สิ่งแวดล้อม และข้อกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ทางด้านสิ่งแวดล้อม
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การทำรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการทำรายงาน การค้นคว้าข้อมูล  หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
2.3.3   ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการออกแบบผลิตภัณฑ์และสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบอย่างยั่งยืน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินจากรายงานที่นำเสนอครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็น  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2   ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนศ.   
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 16 15% 15%
2 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 การอภิปรายกลุ่ม งานปฏิบัติในชั้นเรียน โครงงาน (Project-Based Learning) ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคการศึกษา 5% 30% 25%
3 1.3.1, 1.3.2,1.3.3 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กิตติภูมิ  มีประดิษฐ์. มนุษย์อุตสาหกรรมและสภาพแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : โรงพิมพ์เอส อาร์ พริ้นติ้ง, 2542.
2. เกษม  จันทร์แก้ว. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2544.
3. คณะทำงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมทางเลือก. มาตรฐานผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมทางเลือก. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี,                   
               2539.
4. ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์. การวิจัยทางศิลปะ. กรุงเทพฯ : บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์, 2543.
6. ดลต์  รัตนทัศนีย์. ขบวนการออกแบบทางศิลปอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหาร
               ลาดกระบัง, 2528
8. ธีระชัย  สุขสด. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม . กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2544.
9. นวลน้อย  บุญวงษ์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
10. พิชิต  เลี่ยมพิพัฒน์. พลาสติก. พิมพ์ครั้งที่ 10.  ม.ป.ท. : สำนักพิมพ์ หจก. ป. สัมพันธ์พานิชย์, 2536.
15. มหาวิยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ชุดวิชากฎหมายเอกสารการสอนสิ่งแวดล้อม หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 5. สุโขทัย : โรง 
                พิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2533.
16. มีชัย  วรสายัณห์. มนุษย์และสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2535.
17. ศิริวรรณ  เสรีรัตน์. การตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมในทัศนของนิสิต/นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตใน
                  สถาบันอุดมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.  กรุงเทพฯ : วิสิทธิ์พัฒนา, 2539.
19. สยาม  อรุณศรีมรกต, วรพร  สังเนตร. การศึกษาทัศนคติที่มีต่อระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14000. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2544.
23. สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. คู่มือเลือกซื้อผลิตภัณฑ์คุณภาพเพื่อสิ่งแวดล้อม. ม.ป.ท. : ม.ป.ป.
24. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. “ช่วยลดปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยด้วยหลัก 5 R”  วารสาร
                   สิ่งแวดล้อม. ปีที่ 7 ฉบับที่ 25, 2546 : 34.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์