การกำหนดราคาและความสามารถในการทำกำไรทางการตลาด

Pricing and Marketing Profitability

เพื่อศึกษาแนวคิดหลักการเกี่ยวกับนโยบายราคา กลยุทธ์การกำหนดราคา การตัดสินใจเปลี่ยนแปลงราคาของผลิตภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ การกำหนดราคาให้สอดคล้องกับส่วนประสมทางการตลาด การศึกษาปัจจัยทางการตลาดที่มีผลกระทบต่อการทำกำไรของกิจการ และการประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณเข้ามาช่วยในการตัดสินใจทางด้านการตลาดเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำกำไรของธุรกิจ
เพื่อให้นักศึกษา ศึกษาแนวคิดหลักการเกี่ยวกับนโยบายราคา กลยุทธ์การกำหนดราคา การตัดสินใจเปลี่ยนแปลงราคาของผลิตภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ การกำหนดราคาให้สอดคล้องกับส่วนประสมทางการตลาด การศึกษาปัจจัยทางการตลาดที่มีผลกระทบต่อการทำกำไรของกิจการ และการประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณเข้ามาช่วยในการตัดสินใจทางด้านการตลาดเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำกำไรของธุรกิจ
แนวคิดหลักการเกี่ยวกับนโยบายราคา กลยุทธ์การกำหนดราคา การตัดสินใจเปลี่ยนแปลงราคาของผลิตภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ การกำหนดราคาให้สอดคล้องกับส่วนประสมทางการตลาด การศึกษาปัจจัยทางการตลาดที่มีผลกระทบต่อการทำกำไรของกิจการ และการประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณเข้ามาช่วยในการตัดสินใจทางด้านการตลาดเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำกำไรของธุรกิจ
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ โดยประมาณ ๖ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.2   มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1  นักศึกษารู้จักประหยัด อดออม และมีความพอเพียงในการดำรงชีวิต
1.2.2  นักศึกษาเป็นผู้มีวินัย 
1.2.3  นักศึกษาเป็นผู้มีความขยัน อดทน เพียรพยายาม ในการเรียนและการทำงาน
1.2.4  นักศึกษาเป็นผู้ตรงต่อเวลา
1.2.5  นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อวิชาชีพ สังคมและสิ่งแวดล้อม
1. กำหนดข้อตกลงเบื้องต้นในการเข้าเรียน การแต่งกาย การส่งงานหรือแบบฝึกหัดตามเวลาที่กำหนด  2.บรรยายสอดแทรกในเนื้อหาวิชา ในระหว่างทำการสอน เกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม  
1)  ติดตามการปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ตลอดภาคการศึกษา ให้คะแนน 10% 2)  สังเกตพฤติกรรมในการเข้าเรียน การส่งแบบฝึกหัด หรืองานที่มอบหมาย 3)  ประเมินจากการทุจริตในการสอบ 4)  ประเมินจากส่งงานหรือแบบฝึกหัดทันตามเวลาที่กำหนด 
2.1   มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2.1.1  นักศึกษาได้รับความรู้ และมีความเข้าใจหลักการ และทฤษฎี ในรายวิชาที่ศึกษา 2.1.2  นักศึกษามีความเข้าใจในการปฏิบัติที่สำคัญตามเนื้อหาของรายวิชาที่ศึกษา 2.1.3  นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาที่ศึกษา ร่วมกับความรู้ในรายวิชาอื่น ๆ ได้ 2.1.4  นักศึกษามีการพัฒนาความรู้ โดยการติดตามข้อมูลทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง
1)  การบรรยาย ยกตัวอย่างกรณีศึกษาจากรายงานการเงินของธุรกิจซึ่งเปิดเผยในเวปไซด์ ถาม-ตอบ ในชั้นเรียน  2)  มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากงบการเงินของธุรกิจจริง เพื่อใช้ประกอบการเรียนและทำแบบฝึกหัด  3)  ให้นักศึกษาวิเคราะห์จากโจทย์ปัญหา ตัวอย่างงบการเงินจริง โดยถาม - ตอบในห้องเรียน
1)  สอบกลางภาค 2)  สอบปลายภาค 3)  งานที่มอบหมาย   4)  ความถูกต้องของการวิเคราะห์จากกรณีศึกษา 
3.1  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 3.1.1  นักศึกษามีความสามารถในการสืบค้นข้อมูลเพื่อประกอบการเรียนและการทำงานได้ 3.1.2  นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ทางธุรกิจอย่างสร้างสรรค์ 3.1.3  นักศึกษาสามารถสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อช่วยในการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม 3.2  สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งหันทางธุรกิจ 3.2.1  นักศึกษาสามารถคิดค้นทางเลือก และตัดสินใจเลือกทางเลือก ได้อย่างสอดคล้องกับสถานการณ์ 3.2.2  นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ทางเลือก และวิเคราะห์ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากทางเลือกอย่างรอบด้าน 3.2.3  นักศึกษามีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์
1)  บรรยาย ยกตัวอย่าง ถาม – ตอบในชั้นเรียน  2)  ฝึกการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา  3)  ให้นักศึกษา ศึกษา ค้นคว้า และวิเคราะห์รายงานการเงิน ของธุรกิจที่นักศึกษามีความสนใจ หรือ กรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย และ นำเสนอในชั้นเรียน
1)  สอบกลางภาค 2)  สอบปลายภาค 3)  การตอบปัญหาในชั้นเรียน การแก้ปัญหาโจทย์แบบฝึกหัดและปัญหาต่างๆ  4)  คุณภาพของ กรณีศึกษา การนำเสนอ หน้าชั้นเรียน การตอบปัญหาในชั้นเรียน
4.1  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 4.1.1  นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำ 4.1.2  นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้ตาม 4.1.3  นักศึกษามีความสามารถในการทำงานเป็นทีม 4.1.4  นักศึกษามีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4.1.5  นักศึกษามีความเคารพต่อความคิดเห็นของผู้อื่น 4.1.6  นักศึกษาสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.1.7  นักศึกษาสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
1)  มอบหมายให้ทำรายงานกลุ่มๆ ละ  3 - 5 คน 2)  มอบหมายให้ทำกรณีศึกษาเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 - 5 คน 3)  นำเสนอรายงาน หรือ การแก้ปัญหากรณีศึกษาหน้าชั้นเรียน
1)  ประเมินผลจากการรายงานหน้าชั้นเรียน  2)  ประเมินผลจากกรณีศึกษาที่มอบหมาย 3)  นักศึกษาในกลุ่มประเมินผลและแสดงผลการประเมิน
5.1  สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน 5.1.1  นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ เพื่อการวิเคราะห์ หรือตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวันได้ 5.1.2  นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้หลักสถิติเพื่อการวิเคราะห์ หรือตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวันได้ 5.1.3  นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เพื่อตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวันได้ 5.2  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 5.2.1  นักศึกษามีความสามารถในการเขียนรายงานเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์ 5.2.2  นักศึกษามีความสามารถในการนำเสนอด้วยวาจาเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
1)  สืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับงบการเงินของธุรกิจที่นักศึกษามีความสนใจจากเวปไซด์ เพื่อนำมาวิเคราะห์ และจัดทำรายงาน เป็นกลุ่ม  2)  จัดทำสื่อประกอบประกอบการรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3)  มอบหมายกรณีศึกษาให้วิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์จากกรณีศึกษาในห้องเรียน
1)  การนำเสนอรายงานกลุ่มที่ได้จากการสืบค้นข้อมูล 2)  ประเมินผลจากสื่อและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน 3)  การวิเคราะห์  การแก้ปัญหา จากกรณีศึกษา  ที่นำเสนอหน้าชั้นเรียน
6.1  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 6.1.1  นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้ในรายวิชา มาบูรณาการร่วมกับรายวิชาอื่น ในศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 
สืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับงบการเงินของธุรกิจชุมชนที่นักศึกษามีความสนใจจากเวปไซด์ เพื่อนำมาวิเคราะห์ และจัดทำรายงาน เป็นกลุ่ม
การนำเสนอรายงานกลุ่มที่ได้จากการสืบค้นข้อมูล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 BBABA633 การกำหนดราคาและความสามารถในการทำกำไรทางการตลาด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 3.1, 3.2, 4.1, 5.1, 5.2 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การสอบย่อย การสอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9 การสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 18 การสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา การสอบกลางภาค 30% การสอบปลายภาค 30% การสอบย่อย 10%
2 3.1, 3.2, 4.1, 5.1, 5.2, 6.1 รายงานกลุ่ม การนำเสนองาน การวิเคราะห์ปัญหาหน้าชั้นเรียน และ ในขณะเรียน สัปดาห์ที่ 17 20%
3 1.2 สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
หนังสือการเงินธุรกิจผู้เรียบเรียง  ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสรฐสุดา  ปรีชานนท์
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  การวิเคราะห์งบการเงิน. พิมพ์ครั้งที่  5. ฉบับปรับปรุง. 2551
www.sec.or.th
ใช้แบบประเมินผลอาจารย์ผู้สอนของมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้มีการประเมินการสอนอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษาทุกภาคการศึกษา
ประเมินการสอนจากผลการสอบของนักศึกษา   และจากการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา 
ปรับปรุงจุดบกพร่องในการสอนตามผลการประเมินของนักศึกษา ปรับปรุงการสอนโดยประเมินจากผลการสอบและการวิเคราะห์ปัญหา  การทำกรณีศึกษา
ตรวจสอบความถูกต้องในการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา ตรวจสอบความตรงประเด็นของข้อสอบกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ของสาขาวิชา
นำผลการประเมินข้อ ๑ ข้อ ๓ ข้อ ๔ มาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา เรื่อง ผู้สอน ตารางเรียน การสอนเสริม การทบทวนเพื่อปรับปรุงเนื้อหา และการออกข้อสอบ