การออกแบบอย่างยั่งยืน

Sustainable Design

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1. เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเกี่ยวกับความหมายความสำคัญของการออกแบบอย่างยั่งยืน 2. เพื่อศึกษาแนวคิดหรือหลักในการออกแบบอย่างยั่งยืน การออกแบบ การเลือกใช้วัสดุ 3. การเลือกใช้เทคโนโลยีและกระบวนการการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 4. การสร้างหรือคิดค้นนวัตกรรมทางด้านการออกแบบเพื่อลดปริมาณการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติ 5. การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่าโดยคำนึงถึงผู้ผลิตและผู้บริโภค
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบแนวคิดหรือหลักในการออกแบบอย่างยั่งยืน การเลือกใช้วัสดุการเลือกใช้เทคโนโลยีและกระบวนการการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมรวมไปถึงนวัตกรรมทางด้านการออกแบบเพื่อลดปริมาณการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติ
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญของการออกแบบอย่างยั่งยืน แนวคิดหรือหลักในการออกแบบอย่างยั่งยืน การออกแบบ การเลือกใช้วัสดุ การเลือกใช้เทคโนโลยีและกระบวนการการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การสร้างหรือคิดค้นนวัตกรรมทางด้านการออกแบบเพื่อลดปริมาณการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติ การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่าโดยคำนึงถึงผู้ผลิตและผู้บริโภค  Study of the implication, and importance of sustainable design, the concepts and principles of sustainable design, materials selection, technologies and clean environment manufacturing, innovation design creation and in order to reduce natural resource usage, resource management to achieve the best results for manufacturers and consumers.  
1 ชั่วโมง
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
  1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา  ซื่อสัตย์สุจริตมีวินัยมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  
สอดแทรกในการสอนเรื่อง ความซื่อสัตย์สุจริต จรรยาบรรณในวิชาการและวิชาชีพ ความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
การสังเกตพฤติกรรม 
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 
การอธิบายและทดสอบความรู้ตามหน่วยการเรียน
ประเมินผลจากผลการทดสอบการเรียนรู้
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
การอธิบายและทดสอบความรู้ตามหน่วยการเรียน
ประเมินผลจากผลการทดสอบการเรียนรู้
สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายให้นักศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับเอกสารทางวิชาการ งานวิจัย กรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้อง กับวิชาชีพทางด้านการออกแบบอย่างยั่งยืนเป็นรายกลุ่ม นำเสนอและอภิปรายในชั้นเรียน
ประเมินผลจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้น    ​​เรียนและพฤติกรรมการแสดงออกในการร่วมกิจกรรมกลุ่ม
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เช่น เว็บไซต์ของหน่วยงานหรือสถาบันที่เกี่ยวข้อง วารสารทางวิชาการออนไลน์ ซีดีรอม เป็นต้น เพื่อนำเสนอและอภิปรายในชั้นเรียน 
ประเมินผลจากการเลือกใช้แหล่งข้อมูลและการใช้สื่อในการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์ตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ113 การออกแบบอย่างยั่งยืน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1 1.2.1 การสอบถามในชั้นเรียนและปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ การเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
2 2.1.1 การสอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน 9 และ 17 ร้อยละ 50
3 3.1.1 นำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและกิจกรรมกลุ่ม ครั้งที่ 1 8 ร้อยละ 20
4 4.1.1 5.1.1 พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอ รายงานกลุ่มในชั้นเรียนและพฤติกรรมการแสดงออกในการร่วม กิจกรรมกลุ่ม การเลือกใช้แหล่งข้อมูลและการใช้สื่อในการนำเสนองานกลุ่ม ครั้งที่ 2 16 ร้อยละ 20
กฤษณะพล วัฒนวันยู. การออกแบบอย่างยั่งยืน, กรุงเทพ : Simple Aceale Publishing, 2546. William McDonough, Michael Braungart. Cradle to Cradle : Remaking the Way We Make Things Janine M. Benyus,Biomimicry: Innovation Inspired by Nature. Mohsen Mostafavi, Gareth Doherty (Editor),Ecological Urbanism. Al Gore, An Inconvenient Truth : The Planetary Emergency of Global Warming and What We Can Do About It.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.2   การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการ ปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   ทบทวนเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนด
3.2   หาแนวทางและวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2  การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน 
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุง การสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2  การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา