การทำหุ่นจำลอง

Model Making

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประเภทของหุ่นจำลอง หลักการสร้างหุ่นจำลอง การเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมในการทำหุ่นจำลอง การย่อและขยายสัดส่วน กรรมวิธีการขึ้นรูปหุ่นจำลอง การตกแต่งหุ่นจำลองในงานออกแบบผลิตภัณฑ์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อม การนำความรู้ ความเข้าใจ          การทำหุ่นจำลอง เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การออกแบบผลิตภัณฑ์ และโครงงานออกแบบผลิตภัณฑ์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประเภทของหุ่นจำลอง หลักการสร้างหุ่นจำลอง การเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมในการทำหุ่นจำลอง การใช้มาตราส่วน กรรมวิธีการขึ้นรูปและ การตกแต่งหุ่นจำลองในงานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

4. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคมมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
มีความรู้และเข้าใจ ประเภทของหุ่นจำลอง หลักการสร้างหุ่นจำลอง การเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมในการทำหุ่นจำลอง การใช้มาตราส่วน กรรมวิธีการขึ้นรูปและ การตกแต่งหุ่นจำลองในงานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโครงงาน Problem – based Learning
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการทำหุ่นจำลอง
3.2.1   บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการทำหุ่นจำลอง
3.3.2   วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2  ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง  การเขียน
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
           6.1.1 มีทักษะด้านการออกแบบผลงานและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติและงานสามมิติ
           6.1.2 มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงาน
           6.1.3 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม หรือด้านประโยชน์ใช้สอย
            6.2.1 ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการออกแบบ
            6.2.2 การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
            6.2.3 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติสร้างผลงานสองมิติและสามมิติรวมทั้งนำเสนอผลงาน
           6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติของนักศึกษาที่มอบหมาย
           6.3.2 แนวคิดในการออกแบบผลงาน
           6.3.3 กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2, 6.3.1, 6.3.2, 6.3.3 การปฏิบัติงานและผลงาน โครงงาน (Project-Based Learning) ตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคการศึกษา 50% 10%
3 1.3.1 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
กฤษฎา  อินทรสถิตย์. การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน. กรุงเทพฯ : เอ็ม เอ เอช พริ้นติ้ง, 2546.
กสานติ์  ศิวะบวร. การออกแบบผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์ การผลิตได้และขายดี. ฐานเศรษฐกิจฉบับวันที่  24  มีนาคม  -  18 
          เมษายน  2545.
กลุ่มศิลปิน 20 คน. งานกระดาษ. ม.ป.ท. : สำนักพิมพ์วิคตอรี่ เพาเวอร์พอยท์ จำกัด, ม.ป.ท.
จีรพันธ์  สมประสงค์. การสร้างสรรค์ประติมากรรมจากปูนปลาสเตอร์. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2533.
ชวลิต  ดาบแก้ว. งานพลาสติก. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2525.
ดนต์  รัตนทัศนีย์. ขบวนการออกแบบทางศิลปอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
           ลาดกระบัง, ม.ป.ป.
________.  เทคโนโลยีเบื้องต้นสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์พลาสติก. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ
           ทหารลาดกระบัง, ม.ป.ป.
ตระกูลพันธ์  พัชรเมธา. เครื่องกรองน้ำสำหรับพกพาในถิ่นกันดาร.  สารนิพนธ์วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีออกแบบ
           ผลิตภัณฑ์อุสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ, 2537.
              .  เอกสารประกอบการสอนเรื่องการทำหุ่นจำลอง. สาขาวิชาออกแบบอุตสาหกรรมวิทยาเขตภาคพายัพ สถาบัน
           เทคโนโลยีราชมงคล, 2544. (โรเนียว)
ธีระชัย  สุขสด. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2544.
นวลน้อย   บุญวงษ์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
ประชิด  ทิณบุตร. การออกแบบกราฟิก. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2530.
ปราโมทย์  อ่อนประไพ. เครื่องมือเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคชั่น, 2539.
ปุณณรัตน์  พิชญไพบูลย์. เครื่องเคลือบดินเผา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.
พงศ์พัน  วรสุนทโรสถ. วัสดุก่อสร้าง. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2538.
 
อรอุษา  สรวารี. สารเคลือบผิว (สี วาร์นิช และแลกเกอร์). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537.
Atsuko Kamoshida. Industrial Design Workshop. Japan : Meisei Publication.,1993.
Brown, Sam. How to Paint with Brush and Spray. Chicago : Popular Mechanics Co., 951.
Brushwell, William. Painting and Decorating Encyclopeadia. Illinois : Goodheart Willeox Co.,1973.
Noriyuki Nagashima and Kunio Sano. Industrial Design Workshop 2. Japan : Meisei Publication., 1994.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน 
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 ปรับปรุงรายวิชาทุกทุกภาคการศึกษาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์