การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

Coastal Aquaculture

1. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งที่สำคัญทางเศรษฐกิจ
     2. เข้าใจและสามารถผลิตอาหารสำหรับอนุบาลสัตว์น้ำวัยอ่อน เลือกชนิดอาหารต่างๆ ให้เหมาะสมกับสัตว์น้ำชายฝั่งแต่ละชนิดได้
     3. เข้าใจหลักการเพาะเลี้ยงและอนุบาลสัตว์น้ำชายฝั่งที่สำคัญทางเศรษฐกิจประเภทต่างๆ
     4. สามารถคำนวณและวางแผนการผลิตสัตว์น้ำชายฝั่งที่สำคัญทางเศรษฐกิจได้
     5. เห็นความสำคัญของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง สิ่งแวดล้อม และผลกระทบที่เกิดจากการเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง รวมทั้งแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมในรายวิชาและสอดคล้องกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งที่สำคัญทางเศรษฐกิจ การผลิตอาหารสำหรับอนุบาลสัตว์น้ำวัยอ่อนและการให้อาหาร การคำนวณและวางแผนการผลิตและจำหน่ายผลผลิตที่เกิดจากกิจกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งและสิ่งแวดล้อม และผลกระทบที่เกิดจากกิจกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง รวมถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและสร้างจิตสำนึกให้ร่วมกันในการผลิตลูกพันธุ์สัตว์น้ำที่มีคุณภาพ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา   การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
2.นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกการบ้านหรืองานของผู้อื่น และการนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
3.นักศึกษารู้จักแบ่งปันความรู้กับเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน
4.สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหาเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
1.นักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา
2.นักศึกษามีวินัยและมีความพร้อมเพียงในการร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3.ไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
4.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการแสดงออกต่อส่วนรวม
5.ประเมินจากการไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน 
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยายประกอบการอภิปรายในหลักการและทฤษฏีเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ชนิดต่างๆ ที่สำคัญทางเศรษฐกิจ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ รวมทั้งเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่นำมาใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย รวมทั้งวัดความรู้โดยการสอบกลางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.มีการอภิปรายกลุ่ม เช่น การถามตอบ การสืบค้นข้อมูลโดยเทคโนโลยีสารสนเทศและนำมาอภิปรายในชั้นเรียน
2. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง โดยการลงมือปฏิบัติการในบทปฏิบัติการ
ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน และบทปฏิบัติการที่ทำส่ง
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในการทำงานร่วมกัน 
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
๕.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.กำหนดให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลที่เป็นทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อจัดทำรายงานที่ได้รับมอบหมาย
2.การให้นักศึกษานำเสนองานที่ได้ทำการสืบค้น และอธิปราย ตอบคำถามในชั้นเรียน  โดยการนำเสนอรายงานผ่านระบบสารสนเทศ (power point)
กำหนดหัวข้อการสืบค้นให้นักศึกษาได้สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และสามารถนำเสนอหน้าชั้นเรียนที่ง่ายต่อความเข้าใจ  
6.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม
6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ
กำหนดให้นักศึกษาฝึกทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐาน และอุปกรณ์ต่างๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ประเมินการปฏิบัติการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์จริงในภาคสนาม และการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยในภาคปฏิบัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา 60%
2 ด้านการปฏิบัติการ - การส่งรายงานผลการทดลองในแต่ละบทปฏิบัติการ - ความร่วมมือในการทำงานเป็นหมู่คณะทำ (ภาคปฏิบัติ) - ความสนใจในงานที่ได้รับมอบหมาย - การนำเสนองานหน้าชั้นเรียน - การคำนวณต่างๆ ในบทปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 30 %
3 จิตพิสัย - การเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอและการแต่งกายเข้าห้องเรียนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ - การอภิปรายผลหน้าชั้นเรียน - การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน - การมีส่วนร่วมในการตอบคำถามต่างๆ - การเก็บอุปกรณ์หลังใช้งาน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
1. การเพาะเลี้ยงหอย. คเชนทร  เฉลิมวัฒน์. ภาควิชาวาริชศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา. 228น.
2. เทคโนโลยีการประมงเบื้องต้น. สิทธิพันธ์  ศิริรัตนชัย. 2540. ภาควิชาวาริชศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา. 301น.
3. การเพาะเลี้ยงหอยตะโกรมเชิงการค้า. โครงการผลิตหอยตะโกรมเชิงพานิชย์. กรมประมง. 57น.
4. กุ้งขาว.ธนพงศ์  แสงซื่อ และคณะ. 2548. แลปอินเตอร์เทค. 159น.
 
บทความเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งต่างๆ จากเว็บไซต์ต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ เช่น หน่วยงานของกรมประมง หรืออื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
     1.1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     1.2. แบบประเมินผู้สอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1. ผลการทดสอบย่อย (Quiz)
     2.2. ผลการเรียนของนักศึกษา
     2.3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  โดยมีการปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4