การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ

Integrated Marketing Communication

เพื่อศึกษาความหมาย และกระบวนการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการ ประโยชน์ของการสื่อสารทางการตลาด ส่วนประสมของการส่งเสริมการตลาด การกำหนดงบประมาณสำหรับกิจกรรรมทางการตลาด การวัดประสิทธิผลของการส่งเสริมการตลาด และจริยธรรมในการสื่อสารการตลาด
เพื่อให้นักศึกษา ศึกษาความหมาย และกระบวนการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการ ประโยชน์ของการสื่อสารทางการตลาด ส่วนประสมของการส่งเสริมการตลาด การกำหนดงบประมาณสำหรับกิจกรรรมทางการตลาด การวัดประสิทธิผลของการส่งเสริมการตลาด และจริยธรรมในการสื่อสารการตลาด
ศึกษาความหมาย และกระบวนการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการ ประโยชน์ของการสื่อสารทางการตลาด ส่วนประสมของการส่งเสริมการตลาด การกำหนดงบประมาณสำหรับกิจกรรรมทางการตลาด การวัดประสิทธิผลของการส่งเสริมการตลาด และจริยธรรมในการสื่อสารการตลาด
 
2  ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1   มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
1.1.1  นักศึกษาปฏิบัติตนอย่างเป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม
1.1.2  นักศึกษาให้ความสำคัญกับเรื่องจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ
1.1.3  นักศึกษามีจิตสำนึกสาธารณะ ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและสังคม
1.1.4  นักศึกษาสามารถเสียสละเพื่อสังคมโดยส่วนรวม
1.1.5  นักศึกษามีความซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
1.4   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.4.1  นักศึกษามีโอกาสแสดงภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตาม ในสถานการณ์ที่เหมาะสม
1.4.2  นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่นได้
1.4.3  นักศึกษามีความสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญของปัญหาที่เกิดขึ้นได้
บรรยายในชั้นเรียนพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณการโฆษณาการใช้สื่อที่เหมาะสม

1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.1   มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.1.1  นักศึกษาได้รับความรู้ และมีความเข้าใจหลักการ และทฤษฎี ในรายวิชาที่ศึกษา
2.1.2  นักศึกษามีความเข้าใจในการปฏิบัติที่สำคัญตามเนื้อหาของรายวิชาที่ศึกษา
2.1.3  นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาที่ศึกษา ร่วมกับความรู้ในรายวิชาอื่น ๆ ได้
2.1.4  นักศึกษามีการพัฒนาความรู้ โดยการติดตามข้อมูลทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง
2.3   มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
2.3.1  นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ
2.3.2  นักศึกษามีความสามารถในการใช้กระบวนการบริหารธุรกิจเพื่อการบริหารจัดการงานได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ
บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง อภิปรายหลังการบรรยาย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
การทำงานกลุ่มการทำงานเดี่ยวและการนำเสนอรายงาน
การวิเคราะห์กรณีศึกษา
3.1  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
3.1.1  นักศึกษามีความสามารถในการสืบค้นข้อมูลเพื่อประกอบการเรียนและการทำงานได้
3.1.2  นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ทางธุรกิจอย่างสร้างสรรค์
3.1.3  นักศึกษาสามารถสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อช่วยในการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม
3.2  สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งหันทางธุรกิจ
3.2.1  นักศึกษาสามารถคิดค้นทางเลือก และตัดสินใจเลือกทางเลือก ได้อย่างสอดคล้องกับสถานการณ์
3.2.2  นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ทางเลือก และวิเคราะห์ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากทางเลือกอย่างรอบด้าน
3.2.3  นักศึกษามีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำรายงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  ที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์หรือวิเคราะห์ทางเลือกในการโฆษณา
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
4.1.1  นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำ
4.1.2  นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้ตาม
4.1.3  นักศึกษามีความสามารถในการทำงานเป็นทีม
4.1.4  นักศึกษามีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.5  นักศึกษามีความเคารพต่อความคิดเห็นของผู้อื่น
4.1.6  นักศึกษาสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.7  นักศึกษาสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.2  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
5.2.1  นักศึกษามีความสามารถในการเขียนรายงานเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
5.2.2  นักศึกษามีความสามารถในการนำเสนอด้วยวาจาเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
5.3  สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3.1  นักศึกษาสามารถใช้ภาษาไทยที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3.2  นักศึกษาสามารถใช้ภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอนต่างๆ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
6.1.1  นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้ในรายวิชา มาบูรณาการร่วมกับรายวิชาอื่น ในศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอนต่างๆ
2   นำเสนอโดยรูปแบบและโครงงานรายงาน
   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย โครงงานรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ุ6.ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ(Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5
1 BBABA606 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2, 5.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 18 สอบกลางภาค 25% สอบปลายภาค 25%
2 3.1, 3.2, 4.1, 5.2,5.3, 6.1 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การจัดกิจกรรม การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.1, 1.4, 4.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ชื่นจิตต์  แจ้งเจนกิจ. IMC & Marketing Communication กลยุทธ์การสื่อสารการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 6. 2556.  สำนักพิมพ์เลิฟ แอนด์ลิฟ. กรุงเทพฯ
เสริมยศ  ธรรมรักษ์. การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ. พิมพ์ครั้งที่ 6. 2553. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ.
จิระวัฒน์  อนุวิชชานนท์.3 การบริหารการโษษณาและการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ. 2555. บริษัทธรรมสาร จำกัด. กรุงเทพฯ
นิตยสาร Brand age www.brandage.com
นิตยสารMarketeer www.marketeer.co.th
www.kosanathai.com
www.marketingthai.or.th
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤ