ฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

Physics for Argo - Industry

1.1 เพื่อเข้าใจหลักการพื้นฐานทาง จลศาสตร์ พลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล คลื่น เสียงและแสง ทฤษฎีจลน์ของก๊าซและเทอร์โมไดนามิกส์ ไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ ทัศนศาสตร์ และอิเล็กทรอนิกส์
1.2 เพื่อเข้าใจวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเกษตร
1.3 เพื่อฝึกและพัฒนาทักษะปฏิบัติการที่เป็นระบบ
1.4 เพื่อฝึกและพัฒนาทักษะวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่เป็นระบบ
1.5 เพื่อสร้างเสริมจิตพิสัยในการปฏิบัติงานอย่างมีระบบตามหลักทางวิทยาศาสตร์
2.1 ปลูกฝังการคิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล
2.2 ส่งเสริมความให้มีความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
2.3 สามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
2.4 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน
ศึกษาและปฏิบัติการทดลองเกี่ยวกับ จลศาสตร์ พลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล คลื่น เสียงและแสง ทฤษฎีจลน์ของก๊าซและเทอร์โมไดนามิกส์ ไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ ทัศนศาสตร์ และอิเล็กทรอนิกส์ โดยการสอนจะเน้นที่หลักการที่สำคัญทางฟิสิกส์รวมถึงการสร้างทักษะในการวิเคราะห์และคำนวณเพื่อแก้ปัญหาด้านอุตสาหกรรมเกษตร
Study and Practice of dynamics fluid mechanics, waves, sound and light, kinetic theory of gases and thermodynamics, direct current and alternating current, optics and electronics. Teaching focuses on the main principle of physics including building or creative skills of analytic and calculation for solving Agro-industry problems.
3.1  วันพุธ  เวลา 15.00 - 16.30 น.
1.1.1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
1.2.2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1.3.1. การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
1.3.2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2.1.1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1. บรรยาย และการปฏิบัติการครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา
2.2.2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง
2.2.3. กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.2.4. ทำการทดลองตามบทปฏิบัติการ โดยนำความรู้จากการเรียนภาคบรรยายมาฝึกปฏิบัติ
2.3.1. ทดสอบย่อย
2.3.2. สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.3. ประเมินจากรายงาน รายงานผลการทดลอง หรืองานที่มอบหมาย
3.1.1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1. ยกตัวอย่างที่เหมาะสมในระหว่างการบรรยาย
3.2.2. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด
3.2.3. การรายงานผลการปฏิบัติการ
3.3.1. ทดสอบย่อย
3.3.2. แบบฝึกหัด รายงานการทดลอง และการนำเสนองาน
3.3.3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1. มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดให้ทำเป็นกลุ่ม
4.2.2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
4.2.3. สังเกตการมีส่วนร่วมในการทำปฏิบัติการ
4.3.1. ประเมินจากความรับผิดชอบ และการมีส่วนร่วมงานกลุ่ม
4.3.2. เอกสารการทดลองที่ส่ง  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3. ประเมินจากการนำเสนองาน
5.1.1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอ
ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicational Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 FUNSC118 ฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1, 3.2 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค 5,13 9,17 50%
2 1.3, 2.1, 3.2, 5.1, 5.2 ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย ประเมินจากแบบฝึกหัด ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม ประเมินจากการนำเสนองาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 3.1 รายงานผลการทดลองกลุ่ม และการนำเสนอ 3-15 30%
4 1.2, 1.3 ,4.2, 4.3 การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มการประเมินตนเองของนักศึกษา พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบการประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. ฟิสิกส์ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ฟิสิกส์ 1 ทบวงมหาวิทยาลัย
3. ฟิสิกส์พื้นฐานขั้นมหาวิทยาลัย ฉันทนา อิสรางกูล ณ อยุธยา และอุไรวรรณ จุณภาค
4. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย เล่ม 2 ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์ และธนกาญจน์ ภัทรากาญจน์
5. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย 2 เล่ม 1 พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ  
1. รศ.ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์, ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย
2. โจทย์ประกอบการเรียนฟิสิกส์. ผศ.จรัส บุณยธรรมา , สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ :      สุริยาสาส์น,2543
3. Physics for Scientists and Engineers with Modern Physics, 9th Ed
WWW.rmutphysics.com http://
www.youtube.com/ 
1.1. ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์
1.2. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1. ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2. ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3. การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
3.1. ปรับปรุงการเรียนการสอนจากผลการประเมินของนักศึกษา
3.2. จัดทำ และพัฒนาเอกสารประกอบการสอน สื่อการสอน
4.1. มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้
4.2. มีการบันทึกหลังการสอน
5.1. นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผล และพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป