เคมีอินทรีย์

Organic Chemistry

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้    1.1 รู้ประโยชน์และความสำคัญของเคมีอินทรีย์    1.2 เข้าใจโครงสร้าง สมบัติ ปฏิกิริยาและการเตรียมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ สารประกอบอะลิฟาติก สารประกอบอะลิไซคลิก สารประกอบอะโรมาติกและอนุพันธ์ สเตอริโอเคมี
2.1 เพื่อให้นักศึกษารู้ประโยชน์และความสำคัญของวิชาเคมีอินทรีย์ 2.2 นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.3 เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน  แก้ไข
ศึกษาและปฎิบัติเกี่ยวกับ โครงสร้าง สมบัติ ปฏิกิริยาและการเตรียมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ ชนิดสารประกอบอะลิฟาติก สารประกอบอะลิไซคลิก สารประกอบอะโรมาติกและอนุพันธ์ สเตอริโอเคมี
วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 16.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์ชั้นหนึ่ง ตึกปฏิบัติการกลาง e-mail; ynkeereeta@gmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1) มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
2) มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมระหว่างการสอน
- กระตุ้นให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักเรียนมีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฏระเบียบและข้อบังคับ
- มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน การเข้าสอบ และการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ
1) มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2) มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
- การสอนแบบบรรยาย โดยใช้สื่อประกอบการสอนอย่างเหมาะสม
- การร่วมปภิปราย ตอบข้อซักถาม รวมทั้งการทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน
- การค้นคว้าและสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการค้นหาข้อมูลจากสื่ออิเลคทรอนิคส์และบทความวิจัยที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน 
- มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- การทดสอบเก็บคะแนน และการสอบกลางภาคและปลายภาค
- การถามตอบในห้องเรียน
- ประเมินผลการเรียนรู้จากผลงานที่มอบหมายในระหว่างเรียน เช่น จากการนำเสนอรายงานหน้าชั้น หรือ จากการทำรายงาน
1) สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
2) สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3) ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
- การค้นคว้าข้อมูลเพื่อประกอบการจัดทำรายงาน โดยมอบหมายให้นักศึกษาทำความเข้าใจกับบทความหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ในรูปแบบภาษาอังกฤษ นำมาเสนอให้เพื่อนร่วมชั้นได้อภิปรายร่วมกัน
- มีการชี้ประเด็นและยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
- รายงาน
- การถามตอบในห้องเรียน การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1) ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
2) มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
- มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล
- การนำเสนองาน และอภิปรายในชั้นเรียน
- ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
- การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมา
1) มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
2) มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(6) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(7) สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
- มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้นกรณีศึกษาและนำเสนอเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์กับวิชาชีพได้อย่างเหมาะส
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ
- การทำรายงาน นำเสนองาน และอภิปรายในชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1) มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 2) มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1) มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2) มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 1) สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 2) สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3) ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 1) ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 2) มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 1) มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน 2) มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 FUNSC205 เคมีอินทรีย์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 2.1, .2.2, 3.1, 3.3 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 9, 18 40%
2 1.1, 1.2, 2.1, 2.2, 3.3 การทดสอบย่อย นำเสนองาน 6, 15 10%
3 1.1, 1.2, 2.1, 2.2, 3.3, 4.1, 4.2, 5.1, 5.2 การนำเสนองาน/รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ปฏิบัติการทดลอง, การบันทึกผลการทดลอง และรายงานการทดลอง ตลอดภาคการศึกษา 40%
4 1.1, 1.2. 4.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เกษร พะลัง, เคมีอินทรีย์, พิมพ์ครั้งที่ 1. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ.
วิลาศ พุ่มพิมล, เคมีอินทรีย์ 1, มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
วิลาศ พุ่มพิมล, เคมีอินทรีย์ขั้นสูง1, พิมพ์ครั้งที่ 1
ประดิษฐ์  มีสุข.  2544.  เคมีอินทรีย์เบื้องต้น.  พิมพ์ครั้งที่ 6.  มหาวิทยาลัยทักษิณ,  สงขลา.
พงษ์ทิพย์ โกเมศโสภาและธนานิธ เสือวรรณศรี, 2534, เคมีอินทรีย์พื้นฐาน, ภาควิชาเคมีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพฯ.
รำไพ  สิริมนกุล.  2546.  เคมีอินทรีย์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  กรุงเทพฯ.
วารุณี  ยงสกุลโรจน์.  2547.  เคมีอินทรีย์ 2 .  พิมพ์ครั้งที่ 6.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  กรุงเทพฯ.
สุนันทา  วิบูลย์จันทร์.  2548.  เคมีอินทรีย์.  พิมพ์ครั้งที่ 9.  ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.
สมพงษ์  จันทร์โพธิ์ศรี, 2552, เคมีอินทรีย์ 1, สำนักพิมพ์วิทยพัฒน์, กรุงเทพ.
โสภณ  เริงสำราญและคณะ.  2545.  เคมีอินทรีย์ 2 .  พิมพ์ครั้งที่ 3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพฯ.
อุดม  ก๊กผล, โสภณ  เริงสำราญ และ อมร  เพชรสม.  2543.  เคมีอินทรีย์ 1 .  พิมพ์ครั้งที่ 7. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ.
Brow, W.H., Foote, C.S.and  Iverson, B.L. 2005. Organic  Chemistry, 4th . ed, Thomson  Learning, Belmont
กฤษณา ชุติมา, 2539, หลักเคมีทั่วไป เล่ม 1, สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โครงการตำรา, 2543, สารอินทรีย์, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่
McMurry, J.  2004.  Organic  Chemistry,  6th . ed, Brooks Cole,  California.
Morrison, R.T. and  Boyd,  R.N., 1992. Organic  Chemistry, 6th . ed,Prentice Hall, New Jersey.
Pine, S.H., 1987. Organic  Chemistry,  5th . ed,   McGraw-hill,  New   York.
Robinson, M.J.T, 2002. Organic  Stereochemistry.  Oxford  University  Press, New  York.
Solomons, T.W.G. and Fryhle C.B. 2007. Organic  Chemistry,  9th . ed,  John  Wiley &  Sons,  New  York.
Sykes, P.  1996. A  Primer  to  Mechanism  inorganic  Chemistry,  Prentice Hall, New Jersey.
Brow, W.H., Foote, C.S.and  Iverson, B.L. 2005.Organic  Chemistry, 4th . ed, Thomson  Learning, Belmont
 
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินรายวิชา
2.1 แบบประเมินผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
การประชุมกลุ่ม
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
5.1 ปรับปรุงกระบวนวิชาในแต่ละปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับปรุงกระบวนวิชาในแต่ละปี ตามผลการประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา
5.3 ปรับปรุงกระบวนวิชาในช่วงเวลาการปรับปรุงหลักสูตร