ฟิสิกส์มูลฐานสำหรับวิศวกร

Fundamental of Physics for Engineers

.....เข้าใจหลักการพื้นฐานทางฟิสิกส์ ตามหัวข้อต่าง ๆ ในคำอธิบายรายวิชา..... .....แก้ปัญหาทางฟิสิกส์ได้ และประยุกต์วิชาฟิสิกส์ 1สำหรับวิศวกรกับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้......


........มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์.........
เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์เพื่อนำไปใช้ในรายวิชาอื่นๆต่อไป
(ภาษาไทย) ศึกษาเกี่ยวกับกลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง  สมบัติของสาร  กลศาสตร์ของไหล  ความร้อน  การสั่นและคลื่น  โดยเน้นที่หลักการที่สำคัญทางฟิสิกส์การสร้างทักษะในการวิเคราะห์และคำนวณแก้ปัญหาทางวิศวกรรม
(ภาษาอังกฤษ) The study of mechanics of particles and rigid body, properties of matter, fluid mechanics, heat, vibration and waves. Teaching focuses on the main principles of physics including with skills of analytic and calculation for solving engineering problems.
ภาคทฤษฎี 1.5 คาบ/สัปดาห์
ภาคปฏิบัติ 1.5 คาบ/สัปดาห์
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
 
 
แทรกการตรงต่อเวลาทั้งในภาคปฏิบัติและทฤษฎี
การซื่อสัตย์ต่อการบันทึกผลการทดลอง
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
- พฤติกรรมขณะสอบ              2.5
- พฤติกรรมขณะเรียน              2.5
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
- ผลการเข้าชั้นเรียน                    2.5
- การส่งงานที่มอบหมายตามเวลา    2.5
- การทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
ภาคทฤษฎี  บรรยาย  ในคาบทฤษฎี 
 ภาคปฏิบัติ  ทำการทดลอง  ในคาบปฏิบัติการ
- สอบย่อย (9ครั้ง)                  20
- สอบข้อเขียนกลางภาค           20
- สอบข้อเขียนปลายภาค           20
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- การตอบคำถามรายบุคคลขณะเรียนในห้องเรียน
ความใส่ใจในห้องเรียน               2.5
(3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา  ทั้งในภาคทฤษฎี  และภาคปฏิบัติ
 
-ผลานกลุ่ม        2.5
ทักษะทางปัญญา ทักษะเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (2.1) ,(3.2) ,(5.2)
ส่งงานผ่านระบบ online
การส่งงานตรงตามเวลาและส่งด้วยวิธีการที่ถูกต้อง
สามารถใช้เครื่องคำนวณเพื่อการเรียนได้อย่างถูกต้อง
แทรกการใช้เครื่องมือระหว่างการสอนทั้งปฏิบัติและทฤษฎี
ดูจากความถูกต้องของการบ้าน  งานที่มอบหมาย  และการทำการทดลอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 3
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา บรรยาย
1 FUNSC115 ฟิสิกส์มูลฐานสำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
   1.1  ผศ.จรัส  บุณยธรรมา, 2543. ฟิสิกส์ระดับมหาวิทยาลัยภาคกลศาสตร์. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น.         ,         
1.2  บดินทร์ชาติ  สุขบท, พิมพ์ครั้งที่2 ,2547. ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร . กรุงเทพฯ . สำนักพิมพ์สกายบุ๊กส์  จำกัด .
   1.3  รศ.ศรีธน  วรศักดิ์ , พิมพ์ครั้งที่ 2 , 2547. ฟิสิกส์ 1 . กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์สกายบุ๊กส์  จำกัด .
   1.4  Schaum’s outline series Beginning Physics 1 , McGRAW-Hill , INC
2. หนังสือ เอกสาร และข้อมูลอ้างอิง ที่สำคัญ
   2.1  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์รุ่นที่ 3 ครั้งที่ 1, 2534 . ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
   2.2  รศ.สมพงษ์  ใจดี, พิมพ์รุ่นที่ 3 ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุง,  2547. ฟิสิกส์หมาวิทยาลัย 1. กรุงเทพฯ.สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    2.3  รศ.สมพงษ์  ใจดี, พิมพ์รุ่นที่ 3 ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุง,  2547. ฟิสิกส์หมาวิทยาลัย 2. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 
   2.2  รศ.ศรีธน  วรศักดิ์ , พิมพ์ครั้งที่ 2 , 2547. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์สกายบุ๊กส์  จำกัด.
   2.3  R.A. Serway, J.W. Jewett , Physics for Scientists and Engineers 6th ed.
3. หนังสือ เอกสาร และข้อมูลอ้างอิง ที่แนะนำ
 
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
ดูคลิปการสอนย้อนหลังเพื่อทบทวน
มีการกระจายคะแนนไปที่การสอบย่อยเพื่อให้นักศึกษาแบ่งอ่านหนังสือเป็นช่วง
มีงานกลุ่มและงานเดี่ยวเป็นคะแนเก็บ
บันทึกคลิปตอนสอนเพื่อให้นักศึกษาศึกษาทวนซ้ำได้ตามที่ต้องการ
ทบทวนเนื้้อหาเพื่อปรับปรุงปลายปีการศึกษา
ผลการประเมินผู้สอน
ทำแบบสอบถามเพื่อให้นักศึกษาตอบเกี่ยวกับเรื่องที่อธิบายแล้วยังไม่เข้าใจ