คอมพิวเตอร์กราฟฟิก

Computer Graphics

เพื่อให้นักศึกษามีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาระดับสูง ในการติดต่อกับ อุปกรณ์กราฟิ กส์ สร้างภาพกราฟิ กส์ด้วยคอมพิวเตอร์ ตลอดจนประมวลผลภาพเชิงดิจิตอล
เพิ่มรายวิชาใหม่ในการปรับปรุงหลกั สูตรปี 2561เพื่อเป็ นวิชาชีพเลือก
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการท างานของอุปกรณ์ที่ใช้ทางด้าน คอมพิวเตอร์กราฟิ กส์ อัลกอริทึมที่ ใช้ในการออกแบบงานด้านคอมพิวเตอร์กราฟิ กส์ เทคนิคการสร้างภาพแบบ 2 มิติ โดยจุด เส้นตรง และเส้นโค้ง การขยายแกน การสร้างภาพ และแปลงภาพในมิติต่าง ๆ การแปลงแบบย้าย แบบสเก ล แบบหมุน การ โปรเจคชันภาพ เป็ นต้น และการประยุกต์ใช้งานด้านคอมพิวเตอร์กราฟิ กส์ การเขียนโปรแกรมภาษาด้าน คอมพิวเตอร์กราฟิ กส์ในรูปแบบ 2 และ 3 มิติ
อาจารย์ประจ ารายวิชา ให้ค าปรึกษาผ่านเว็บไซต์ elearning.rmutl.ac.th - อาจารย์จัดเวลาให้ค าปรึกษาเป็ นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
การสอนแบบบรรยาย สลับกับการถาม-ตอบและให้นักศึกษามีส่วนร่วมโดยการแก้ปัญหาโจทย์ ใช้สื่อการสอนแบบกระดาน สื่อนำเสนอ และแสดงตัวอย่าง
1.ประเมินจากการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา 2.การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนดเวลา 3.การร่วมกิจกรรม 4.สังเกตจากพฤติกรรมและความประพฤติ
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 
1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา 3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีอุตสาหกรรมให้ตรงตามข้อกำหนด 4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
การสอนแบบบรรยาย สลับกับการถาม-ตอบและให้นักศึกษามีส่วนร่วมโดยการแก้ปัญหาโจทย์ ใช้สื่อการสอนแบบกระดาน สื่อนำเสนอ และแสดงตัวอย่าง
1.การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2.แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน 3.ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 4.ซักถามนักศึกษาในห้องเรียน 
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอยากเป็นระบบ 2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินอุตสาหกรรมโดยใช้สารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางอุตสาหกรรมได้อย่างเหมาะสม
การสอนแบบบรรยาย สลับกับการถาม-ตอบและให้นักศึกษามีส่วนร่วมโดยการแก้ปัญหาโจทย์ ใช้สื่อการสอนแบบกระดาน สื่อนำเสนอ และแสดงตัวอย่าง
1.กรณีศึกษาทางการประยุกต์ใช้งานตอนปลายภาคเรียน 2.ให้นักศึกษานำเสนอและสาธิตให้กับเพื่อนร่วมชั้นเรีย
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
1สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่าง ๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน
การสอนแบบบรรยาย สลับกับการถาม-ตอบและให้นักศึกษามีส่วนร่วมโดยการแก้ปัญหาโจทย์ ใช้สื่อการสอนแบบกระดาน สื่อนำเสนอ และแสดงตัวอย่าง
1.สังเกตจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอ อย่าง เหมาะสม 4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
การสอนแบบบรรยาย สลับกับการถาม-ตอบและให้นักศึกษามีส่วนร่วมโดยการแก้ปัญหาโจทย์ ใช้สื่อการสอนแบบกระดาน สื่อนำเสนอ และแสดงตัวอย่าง
1.สังเกตจากเทคนิคในการนำเสนอ วิเคราะห์ และอภิปราย
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย 
1มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2  มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
การสอนแบบบรรยาย สลับกับการถาม-ตอบและให้นักศึกษามีส่วนร่วมโดยการแก้ปัญหาโจทย์ ใช้สื่อการสอนแบบกระดาน สื่อนำเสนอ และแสดงตัวอย่าง
1.สอบปฏิบัติปลายภาคเรียน 2.ทดลองใบงานร่วมกันและบันทึกผลการทดลอง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
[1] Donald Hearn and M. Pauline Baker. Computer Graphics C Version. [2] Elaine Rich and Kevin Knight. Artificial Intelligence. 2nd ed. Singapore: McGraw-Hill, 1997. [3] Gilles Brassard and Paul Bratley. Fundamentals of Algorithmics. USA: Prentice-Hall, 1996. [4] Jeri R. Hanly, Elliot B. Koffman, and Joan C. Horvath. C programming design for engineers. USA: Addison-Wesley, 1995.
- ชุดคาสงั่ ทางดา้ นกราฟิ กส์ OpenCV, DirectX เว็บไซต์ช่วยเหลือของโปรแกรมแปลภาษา ได้แก่ MSDN, GNU C++
เว็บไซต์ประกอบการสอน ได้แก่ http://jk.rmutl.ac.th, http://elearning.rmutl.ac.th - เว็บไซต์สืบค้น หรือสารานุกรม ได้แก่ Google, Wikipedia
จัดกิจกรรมในการรวบรวมแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ด้วยวิธีการดงั น้ี 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็ นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ด้วยวิธีการดงั น้ี 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน หรือหัวหน้าหลักสูตร 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาขอ้ มูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดงั น้ี 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจยั ในและนอกช้นั เรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิในรายหวั ขอ้ ตามที่คาดหวงั จากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผล การ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิโดยรวมในวิชาไดด้ งั น้ี 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรื อ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจ าหลักสูตร 4.2 มีการต้ังคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธ์ิประสิทธิผลรายวิชา ไดม้ ีการวางแผนการปรับปรุงการ สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อใหเ้ กิดคุณภาพมากข้ึน ดงั น้ี 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามขอ้ เสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ิตามขอ้ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลบั อาจารยผ์ สู้ อน เพื่อใหน้ ักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกตค์ วามรู้น้ีกบั ปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ