ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ

Academic English

1.1 นักศึกษาสามารถเลือกใช้คำศัพท์และสำนวนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได้เหมาะสม
1.2 นักศึกษาสามารถอธิบายและแสดงความคิดเห็นด้วยภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได้ 1.3 นักศึกษาสามารถประยุกต์ ทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได้ 1.4 นักศึกษาสามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษในบริบทภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได้
1.ปรับปรุงหลักสูตรให้มีมาตรฐานอย่างต่อเนื่องและสอดคล้องกับความต้องการกำลังคนของสังคมและตลาดแรงงาน 2.ปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ สื่อการสอนต่างๆ ให้สอดคล้องและเท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 
ศึกษาคำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาอังกฤษ โดยเน้นหลักการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสรุปความ และการนำเสนอในบริบททางวิชาการ
Study vocabulary, expressions, and structures of English emphasized on principles of listening, speaking, reading, and writing. Practice summarizing and giving presentation in an academic context.
3.1 อาจารย์ให้คำปรึกษาผ่านระบบการสื่อสารออนไลน์ online ผ่านช่องทาง https://education.rmutl.ac.th/, MS Team และ Facebook และห้องพักอาจารย์แผนกภาษาตะวันตก ชั้น 4 ตึก 80 พรรษา
3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 
(เฉพาะนักศึกษารายที่ต้องการ)
มีการส่งเสริมพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัย และความรับผิดชอบ มีน้ำใจ มีจิตอาสาสามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคม และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม โดยผู้สอนต้องพยายามชี้ให้เห็นคุณธรรมและจริยธรรมที่สอดแทรกอยู่ในเนื้อหาวิชา เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาและบูรณาการคุณธรรมจริยธรรมกับความรู้ในรายวิชา โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
                   1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเกี่ยวกับความเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
                   2. ความมีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
                3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
                    4.  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
                    5.  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
 
1.2.1 บรรยายบทเรียนพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
1.2.2 ให้นักศึกษาฝึกทักษะทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและการนำเสนอ พร้อมทั้งชี้ให้เห็นประเด็นต่างๆ การใช้คำ เทคนิคต่างๆ ตลอดจนฝึกความรับผิดชอบ คุณธรรมจริยธรรม
1.2.3 มอบหมายงานให้นักศึกษาไปศึกษางานภาษาอังกฤษเชิงวิชาการประเภทต่าง ๆ แล้วนำมาเสนอในชั้นเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักศึกษาด้วยกัน และอาจารย์ผู้สอน         
 1.2.4 เน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน โดยให้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในบทเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นภายในชั้นเรียน
 1.2.5 กระตุ้น ชักจูงให้นักศึกษาเข้าเรียนสม่ำเสมอ มีระเบียบวินัย และมีความกล้าหาญในการแสดงออก และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3.1 ประเมินผลพฤติกรรมการเข้าเรียน การให้ความร่วมมือในชั้นเรียน และส่งงาน
มอบหมายให้ตรงเวลา
 1.3.2 ประเมินผลก่อนเข้าสู่บทเรียนเพื่อทราบพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาวิชา
 1.3.3 ประเมินผลระหว่างภาคเรียน เพื่อทดสอบผลสัมฤทธิ์ของวัตถุประสงค์การเรียน
  1.3.4 ประเมินผลด้วยการใช้แบบฝึกหัดในบทเรียน
  1.3.5 ประเมินวัตถุประสงค์การเรียนโดยใช้ใบงาน (Work Sheet)
  1.3.6 ประเมินผลจากงานแปลที่ได้รับมอบหมายและจริยธรรม การรับผิดชอบต่อตนเองในงานที่มอบหมาย
  1.3.7 ระเมินผลปลายภาคเรียน เพื่อทดสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนในภาพรวม
 
          นักศึกษาจะได้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฝึกปฏิบัติทักษะทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและการนำเสนองานในบริบททางภาษาอังกฤษ ตลอดจนได้ฝึกวิเคราะห์ สาเหตุข้อผิดพลาดต่างๆ รวมทั้งวิธีแก้ไขและปรับปรุงบทการนำเสนอผลงานทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ประกอบด้วย   
           2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการการฝึกปฏิบัติทักษะทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
              2.1.2 สามารถวิเคราะห์สาเหตุ และหรือข้อผิดพลาดในการการฝึกปฏิบัติทักษะทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและการนำเสนองานในบริบททางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
           2.1.3 สามารถวิเคราะห์วิธีปรับปรุงแก้ไขการฝึกปฏิบัติทักษะทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและการนำเสนองานในบริบททางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
           2.1.4 มีทักษะในการการฝึกปฏิบัติทักษะทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและการนำเสนองานในบริบททางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
           2.1.5 มีเจตคติที่ดีในการการฝึกปฏิบัติทักษะทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและการนำเสนองานในบริบททางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
          2.1.6 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการใช้กระบวนการทางภาษาในการการฝึกปฏิบัติทักษะทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและการนำเสนองานในบริบททางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
 
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบใช้สื่อประกอบ และเทคโนโลยีประกอบมอบหมายงาน ใบงานทดสอบวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ใช้แบบฝึกหัดเกี่ยวกับบทเรียน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นภายในชั้นเรียน การเปิดโอกาสให้ชักถามภายในชั้นเรียน  และเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์ (Student Center) ดังนี้
                2.2.1 ให้นักศึกษาฝึกการฝึกปฏิบัติทักษะทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและการนำเสนองานในบริบททางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ พร้อมทั้งชี้ให้เห็นประเด็น การใช้คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างทางภาษา เทคนิคต่างๆ ตลอดจนความรับผิดชอบ และคุณธรรม จริยธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาการเรียนการสอนได้
                   2.2.2 มอบหมายงานให้นักศึกษาไปศึกษาทักษะทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและการนำเสนองานในบริบททางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการประเภทต่าง ๆ แล้วนำมาเสนอในชั้นเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักศึกษาด้วยกัน และอาจารย์ผู้สอน         
                    2.2.3 เน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน โดยให้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในบทเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นภายในชั้นเรียน
                    2.2.4 กระตุ้น ชักจูงให้นักศึกษาเข้าเรียนสม่ำเสมอ มีระเบียบวินัย และมีความกล้าหาญในการแสดงออก และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 
2.3.1 ประเมินผลพฤติกรรมการเข้าเรียน การให้ความร่วมมือในชั้นเรียน และส่งงานมอบหมายให้ตรงเวลา
2.3.2 ประเมินผลก่อนเข้าสู่บทเรียนเพื่อทราบพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาวิชา
2.3.3 ประเมินผลระหว่างภาคเรียน เพื่อทดสอบผลสัมฤทธิ์ของวัตถุประสงค์การเรียน
                   2.3.4 ประเมินผลด้วยการใช้แบบฝึกหัดในบทเรียน
2.3.5 ประเมินวัตถุประสงค์การเรียนโดยใช้ใบงาน (Work Sheet)
2.3.6 ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมายและจริยธรรม การรับผิดชอบต่อตนเองในงานที่
รับมอบหมาย
2.3.7 ประเมินผลปลายภาคเรียน เพื่อทดสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนในภาพรวม
2.3.8 ประเมินจากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน
2.3.9 ประเมินจากการแก้ไขข้อบกพร่องส่วนตัว (Personal Problems Solving)
 
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถของนักศึกษา ในการนำทฤษฏี  การฝึกปฏิบัติทักษะทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและการนำเสนองานในบริบททางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและในการสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ ทำความเข้าใจ และนำไปประยุกต์ใช้ได้ อย่างเป็นระบบ  ความสามารถในการนำเอาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม มีความรู้ความเข้าใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการมาใช้ในการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ใหม่ๆ ที่ไม่คาดคิดมาก่อน  สามารถสืบค้น ค้นหา ข้อเท็จจริง สรุป ทำความเข้าใจได้ รวมถึงการวิเคราะห์ สังเคราะห์ปัญหา และสรุปประเด็นปัญหา พร้อมทั้งสามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาเข้ากับเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้
3.2.1 บรรยายพร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบเนื้อหาวิชา
3.2.2 บรรยายเชิงวิเคราะห์ให้เห็นความสัมพันธ์และบูรณาการของเนื้อหาวิชา
3.2.3 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น และแก้ไขข้อผิดพลาดเป็นรายบุคคล
3.2.4 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง แล้วนำมาแลกเปลี่ยนภายในชั้นเรียน
ทดสอบระหว่างภาคและปลายภาค โดยเน้นการวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้ และการบูรณาการเนื้อหาวิชา ตลอดจนการใช้การชักถาม สัมภาษณ์ ตอบคำถามปากเปล่า ทดสอบด้วยใบงานและแบบฝึกหัดการแสดงออกและการมีส่วนร่วม การนำเสนอภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ การสอบกลางภาคและปลายภาค
 
4.1.1 พัฒนาทักษะให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และวิชาชีพ
4.1.2 พัฒนาทักษะให้มีมนุษยสัมพันธ์ รู้จักจัดการอารมณ์ และยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
4.1.3 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.4. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
4.1.5 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.6 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง ความมีวินัย ความรับผิดชอบในการทำงานเป็นทีม และ
ความตรงต่อเวลา
          4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ในการเรียนรู้ (Child center)
           4.2.2 จัดกลุ่มการเรียนรู้ (Group learning activities)
          4.2.3 ฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม (Group work)
4.3.1 ประเมินตนเองด้วยแบบที่กำหนด
4.3.2 ประเมินผลพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  
4.3.3 ประเมินผลจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
5.1.4 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานและการศึกษางานทางภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและการนำเสนอ                     
 
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง สื่อการสอนต่างๆ จากแหล่งเรียนรู้ออนไลน์และออฟไลน์ที่ทันยุคทันสมัย
5.2.2 นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสมตามสภาพผู้เรียน
 
5.3.1 ประเมินจากรายงาน ใบงาน แบบฝึกหัด และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปรายในเชิงวิชาการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBLC103 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยที่ 1-3 สอบกลางภาค 9 25%
2 หน่วยที่ 4-6 สอบปลายภาค 18 25%
3 ทดสอบผลการเรียนรู้หน่วยที่ 1-6 ทดสอบย่อย / งานที่มอบหมาย / การนำเสนอ สัปดาห์หลังสอนแต่ละหน่วยเสร็จสิ้น 40%
4 จิตพิสัย การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Oxford, Headway Pre-intermediate (B1), Liz&John Soars and Paul Hancock -www.headwayonline.com  
-Adams, Carl R. and Toyama, Setsuko J. (1997). Journeys: Listening and Speaking 1. -Prentice Hall Asia ELT: Singapore. -Adelson-Goldstein,Jayme.(1991).Listening First: Focused Listening Tasks for Beginners. Hong Kong: Oxford University -Arnold Schwarzenegger.2009). Governor Arnold Schwarzenegger [Online]. Available - Greenall, Simon and Garton-Sprenger, Judy. (1991). Flying Colours Workbook. London: Heinemann. -Benz, Cheryl & Dworak,Kara.(2000).Tapestry Listening &Speaking 1. U.S.A.: Heinle & Heinle Thomson Learning.  
ด้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้                  
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน                
 1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา                
 1.3  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา  แก้ไข
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน (ในกรณีสอนร่วม)
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
จัดให้นักศึกษานำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษในบทการนำเสนองานในบริบททางวิชาการ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ