สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา

Environment and Development

1.  เข้าใจความรู้พื้นฐานทางสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร
          2.  เข้าใจหลักนิเวศวิทยา
          3.  เข้าใจการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร มลพิษสิ่งแวดล้อม
          4.  เข้าใจคุณภาพชีวิตและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
          5.  เข้าใจปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
          6.  เข้าใจจริยธรรมกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้องทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของแต่ละสาขาวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน แนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์ นวัตกรรมเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
3ชั่วโมงต่อสัปดาหฺ์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
1.2.2 จัดทำโครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และนำเสนอ
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม  คุณภาพชีวิตและคุณภาพสิ่งแวดล้อม  ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน จริยธรรมกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
บรรยายตามเอกสารประกอบการสอน สไลด์ประกอบการสอน และมอบหมายให้ทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน และจัดทำโครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากแบบฝึกหัดประจำบทก่อนสอบกลางภาคและหลังสอบกลางภาค
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเกี่ยวการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 GEBSC106 สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3, 3.3, 5.3 การนำเสนอหัวข้อและการสอบย่อย 5, 8, 11, 13, 15 15%
2 2.3, 3.3, 5.3 การสอบกลางภาค 9 30%
3 2.3, 3.3, 5.3 การสอบปลายภาค 17 30%
4 2.3, 3.3, 4.3, 5.3 งานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรียน 15%
5 1.3, 4.3 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบในรายวิชา ตลอดภาคเรียน 10%
1. เกษม จันทร์แก้วและคณะ , 2544 วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  2. ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์ , 2546 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  3. นฤมล กูลศิริศรตระกูล, 2552 เอกสารคำสอนรายวิชาสิ่งแวดล้อมและการจัดการทรัพยากร ม.ป.ท.
1. นิวัติ เรืองพานิช , 2533 การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คู่มือสำหรับการสอนและการฝ๊กอบรม. กรุงเทพฯ อักษรสยามการพิมพ์  2. สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย,สาขาวิชานิติศาสตร์ 2542 เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1-7 พิมพ์ครั้งที่ 11 กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
1. นิวัติ เรืองพานิช , 2533 การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คู่มือสำหรับการสอนและการฝ๊กอบรม. กรุงเทพฯ อักษรสยามการพิมพ์  2. สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย,สาขาวิชานิติศาสตร์ 2542 เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1-7 พิมพ์ครั้งที่ 11 กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- การประเมินผลการสอนของอาจารย์  - การประเมินตามแบบประเมินความพึงพอใจ
- การประเมินผลจากการตรวจใบงาน  - การประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน  - การสังเกตพฤติกรรม และการมีส่วนร่วม  - การเข้าเรียน  - การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่นโครงการจัดการหรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ   - การสอบกลางภาคและปลายภาค
- การปรับปรุงแบบประเมินผลจากการตรวจใบงาน  - การปรับปรุงแบบประเมินผลการนำเสนอผลงาน  - การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร โครงการจัดการหรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ   - การวิจัยในชั้นเรียน  - การประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- ทวนสอบจากคะแนนสอบ  - ทวนสอบจากผลการวิเคราะห์และนำเสนอกรณีตัวอย่าง  - ทวนสอบจากการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น โครงการจัดการหรืออนุรักษ์
- ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชา เน้นการศึกษาสถานการณ์สิ่งแวดล้อมโลกมากยิ่งขึ้น  - จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร การจัดให้มีการสัมมนาทางวิชาการ โครงการจัดการหรืออนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ หรือการศึกษาดูงาน  ปรับปรุงกิจกรรมโครงการจัดการหรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ