พันธุศาสตร์ทางการเกษตร

Genetics for Agriculture

1.1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเคมี คุณสมบัติและหน้าที่ของสารพันธุกรรม การแสดงออกของยีนและการควบคุม พันธุศาสตร์ของเมนเดลและแบบอื่นๆ การหาตาแหน่งยีนบนโครโมโซม การกลายพันธุ์ พันธุศาสตร์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ พันธุศาสตร์ประชากร และวิวัฒนาการ 1.2 ประยุกต์ใช้และบูรณาการความรู้ทางพันธุศาสตร์ในทางวิชาชีพ 1.3 มีทักษะการปฏิบัติทางพันธุศาสตร์ 1.4 มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.5 สามารถสืบค้นและศึกษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับพันธุศาสตร์
เพื่อให้สอดคล้องตาม มคอ. 2 และเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐาน TQF  
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างทางเคมี คุณสมบัติและหน้าที่ของสารพันธุกรรม การแสดงออกของยีนและการควบคุม พันธุศาสตร์ของเมนเดลและแบบอื่นๆ การหาตาแหน่งยีนบนโครโมโซม การกลายพันธุ์ พันธุศาสตร์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ พันธุศาสตร์ประชากรและวิวัฒนาการ การประยุกต์ใช้พันธุศาสตร์ทางการเกษตร  
อาจารย์จัดเวลาให้ค าปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะ รายที่ต้องการ)
1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณ
- การเข้าเรียนตรงเวลา และ สม่ำเสมอ
- การซื่อสัตว์ในการสอบ
- การเข้าร่วมกิจกรรมตามกำหนด
วิธีการวัด โดย การปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กำหนดไว้ ได้แก่
- เข้าเรียนสม่ำเสมอ สามารถขาดเรียนได้เมื่อมีเหตุจำเป็น
- เข้าเรียนตรงเวลา สามารถสายได้ไม่เกิน 10 นาที
- การทำข้อสอบด้วยความซื่อสัตว์
- การเข้าร่วมกิจกรรมตามกำหนด
 
การประเมินผล โดย จำนวนครั้งในการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กำหนดไว้ แล้วประมวลเป็นคะแนนจิตพิสัยร้อยละ 10
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ  2.2 มีความรอบรู้ 
ด้านทฤษฎี มีความรอบรู้ โดย
1. เน้นหลักการทฤษฎี
2. การประยุกต์ใช้ความรู้ในชีวิตประจำวันและทันต่อปัจจุบัน
 
ด้านปฏิบัติ มีความรอบรู้ โดย
1 เน้นการปฏิบัติโดยใช้กรณีศึกษา ตัวอย่างที่เป็นทางการเกษตร
ด้านทฤษฎี วิธีการวัด โดย
- การสอบ
การประเมินผล โดย
- ผลคะแนนการสอบ
 
ด้านปฏิบัติ วิธีการวัด โดย
1 สามารถรายงานผลปฏิบัติการได้อย่างถูกต้อง
2 การสอบปฏิบัติ
การประเมินผล โดย
- ผลงานในแต่ละบทปฏิบัติการ
- ผลคะแนนการสอบ
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบฃ
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
ด้านทฤษฎี มีความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดย
1. การมีถอดบทเรียนจากบทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง กรณีศึกษาทางการเกษตร แล้วนำข้อมูลฐานความรู้มาทำการสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือ พัฒนาเป็นนวัตกรรมใหม่
 
ด้านปฏิบัติ โดย
1. นำบทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง กรณีศึกษาทางการเกษตร มาเป็นแบบฝึกทักษะความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาให้ได้องค์ความรู้ใหม่ หรือ นวัตกรรมใหม่
ด้านทฤษฎี วิธีการวัด โดย
- การนำเสนอความคิดเชิงริเริ่มสร้างสรรค์ที่ได้จากการถอดบทเรียน  
- การสอบ
การประเมินผล โดย
- ผลงานด้านองค์ความรู้ หรือ ผลงานความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความครบถ้วน ถูกต้องของพื้นความรู้ที่ได้รับ
- ผลคะแนนการสอบ
 
ด้านปฏิบัติ วิธีการวัด โดย
1 ประเมินจากการแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ผ่านการใช้บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง กรณีศึกษาทางการเกษตร มาเป็นแบบฝึกทักษะความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
 2 การสอบ
การประเมินผล โดย
- ความสามารถแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยมีหลักจากทักษะที่ได้ฝึกปฏิบัติมา
 - คะแนนการสอบปฏิบัติ
4.1 ภาวะผู้นำ
4.2 มีจิตอาสาและสานึกสาธารณะ
มีการฝึกทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์โดย
- การทำงานกลุ่ม
- การรับผิดชอบต่อพื้นที่ส่วนรวม โดยการทำความสะอาดห้องเรียน
- การเก็บรักษาอุปกรณ์การเรียน
วิธีการวัด โดย
- การให้ความร่วมมือในการทำงานร่วมกัน
- การให้ความร่วมมือในการทำความสะอาดห้องเรียน
- การดูแลรักษาอุปกรณ์การเรียนต้นเทอม-ท้ายเทอม
การประเมินผล โดย
- จำนวนการให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม
- จำนวนครั้งที่อยู่ครบจนการทำความสะอาดเสร็จสิ้น
- อุปกรณ์การเรียนต้นเทอม-ท้ายเทอมมีอยู่ครบ
5.1 มีทักษะการสื่อสาร
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีการฝึกทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย จัดกิจกรรมให้
- มีการสืบค้นความรู้จากเทคโนโลยีสารสนเทศ ในหลากหลายสถานการณ์
- การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
วิธีการวัด โดย
- มีการสืบค้นความรู้จากสื่อต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ  
- นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
การประเมินผล โดย
- การอ้างอิงแหล่งสืบค้นที่น่าเชื่อถือ
- รูปแบบการนำเสนอได้เหมาะสม น่าสนใจ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG006 พันธุศาสตร์ทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2, 3.2, 4.2, 5.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 16 25% 25%
2 1.2, 2.2, 3.2, 4.2, 5.2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.2, 2.2, 3.2, 4.2, 5.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
พรรณพร  กุลมา. 2558. ปฏิบัติการพันธุศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 1. น่าน: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
ประดิษฐ์ พงศ์ทองคำ . 2541. พนัธุศาสตร์. สำนกัพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. ไพศาล เหล่าสุวรรณ. 2535. พันธุศาสตร์. ไทยวัฒนาพานิช จำกัด กรุงเทพฯ. วิสุทธิ์ ใบไม้. 2536. พนัธุศาสตร์. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ
หลักพันธุศาสตร์
สื่อทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์ Google class room ที่เปิดเพื่อใช้ในการเรียนการสอน
1.1  ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน    ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย  
1.2  ให้นักศึกษาประเมินการสอน โดยการสอบถามประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 
ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการ ประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา และให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดทุกภาคการศึกษา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ