การผลิตเครื่องเงินและเครื่องทองไทย

Thai Gold and Silverware Production

        ฝึกปฎิบัติ เกี่ยวกับการผลิตเครื่องเงิน และเครื่องทองของประเทศไทยทั้งเครื่องประดับและเครื่องใช้ ในยุคสมัยต่างๆ  การสืบทอดภูมิปัญญาการผลิต เครื่องเงิน เครื่องทอง ตามรูปแบบและกระบวนการผลิต ของท้องถิ่นต่างๆ 
1.เพื่อพัฒนาปรับปรุงให้การเรียนการสอน มีความทันสมัยนิยม
2.เพื่อเพิ่มเติมองค์ความรู้และฝึก ปฎบิัติงาน เกิดทักษะเพิ่มเติมในวิชาเรียน 
    ฝึกปฎิบตัิ เกี่ยวกับการผลิตเครื่องเงินและเครื่องทองของประเทศไทยทั้งเครื่องประดับและเครื่องใช้ ในยุคสมัยต่างๆ  การสืบทอดภูมิปัญญาการผลิต เครื่องเงิน เครื่องทอง ตามรูปแบบและกระบวนการผลิต ของท้องถิ่นต่างๆ    
Practice crafting Thai gold and silverware especially focus on ancient appliances,inheritance of knowledge, gold and silverware  crafting manufacturing from local wisdom.
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งเกี่ยวกับเกณฑ์ในการศึกษา และการประเมินผลรายวิชา ในชั่วโมงแรกของ การสอนภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์แจ้งและกำหนดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/ สัปดาห์(เฉพาะรายที่ตอ้งการ
พัฒนาผู้เ้รียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตาม คุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวิยนัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวชิาชีพ  
1.2.1     บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างรูปแบบต้นแบบ เครื่องประดับ 
1.2.2     กำหนดให้นักศึกษาเรียนตาม เนื้อหาตามหลักสูตร และศึกษาเนื้อหานอกชั้นเรียนหรือนอกสถานที่ 
1.3.1    พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2    ผลงานทำ ต้นแบบเครื่องประดับ ด้วยวสัดุธรรมชาติ วัสดุสังเคราะห์  
2.1.1  ความรู้การขึ้นต้นแบบเครื่องประดับเทียมดว้สดุธรรมชาติ และวัสดุสังเคราะห์
 2.1.2  ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการขึ้นต้นแบบเครื่องประดับ 
บรรยายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา เกี่ยวกับความรู้การขึ้นต้นแบบ เครื่องประดับ  ใหม้ีความเหมือนจริง สามารถสื่อความหมายตามแบบที่ได้ออกแบบไว้ เรียนรู้ประวัติความเป็นมาของเครื่องเงิน เครื่องทองไทย สามารถปฎิบัติได้
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดว้ยขอ้สอบที่เนน้การความรู้ ความเขา้ใจ การนา ไปใช้  
2.3.2 ประเมินจากงานปฏิบตัิปลายภาคเรียนของผเู้รียนในการผลิตต้นแบบ    
3.1.1  พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เปรียบเทียบเครื่องเงินเครื่อง ทองไทย
 3.1.2  พัฒนาความสามารถในการประยกุตใ์ช้ เครื่องมือ ในการ ผลิตเครื่องเงินเครื่องทอง ไทย  
  3.2.1   สอนแบบบรรยาย โดยใช้รูปภาพประกอบ และ ตัวอย่างเครื่องเงินเครื่องทอง
  3.2.2   สอนแบบสถานการณ์จริงโดยนา รูปแบบ ในปัจจุบนัมาน าเสนอให้นักศึกษาศึกษาดูผลงาน พร้อมนา มาเป็นแนวคิดในการออกแบบ และผลิตเครื่องเงิน เครื่องทอง 
3.3.1   สอบปฎิบตักลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีเน้นการปฏิบตัิและประยุกต์ใช้ เครื่องมือ
3.3.2   วัดผลจากงานปฏิบัติปลายภาคเรียนทั้งการวาดรูปด้วยมือ และ เขียนบรรยายขั้นตอนการ ปฎิบัติ
  4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน    4.1.2   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนทันตาม กำหนดเวลา 
 4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคล  
 4.2.2   การนำ เสนองาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน อาจารยผ์สู้อน
4.3.2  ประเมินจากผลงานที่นา เสนอและพฤติกรรมการทา งานของนกัศึกษาตามหลกัการ
4.3.3   ประเมินจากการมอบหมายงานนอกเวลา  
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง  การเขียน
5.1.3  พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4  ทักษะในการนำ เสนอรายงานโดยใชรู้ปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยทีี่เหมาะสม
 5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาคน้ควา้ดว้ยตนเอง จากเวบ็ไซต์ โดยเน้นการนา ตวัเลข หรือมีสถิติ อ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูล หอ้งสมุดที่น่าเชื่อถือ  
 5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบภาพวาด ผลงานการผลิต และเทคโนโลยทีี่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนำ เสนอด้วยผลงานต้นแบบเครื่องประดับที่เหมาะสม  
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
 พัฒนาการเรียนรู้ดว้ยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายใหค้รบถว้นทันตาม กำหนดเวลา
  มอบหมายงานรายบุคคล   หรืองานกลุ่มเพื่อประหยัดงบประมาณวัสดุฝึก
 ประเมินจากผลงานที่นำ เสนอและพฤติกรรมการทำ งานของนักศึกษาตามหลักการ 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม จุดดำ 1 จุดขาว 3 ความรู้จุดขาว1 จุดดำ4 ทักษะทางปัญญาจุดขาว2 จุดดำ4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบจุดดำ2จุดขาว3 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจุดดำ1 จุดขาว2 ทักษะพิสัยจุดดำ1จุดขาว2
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ทักษะทางปัญญา ทักษะ
1 BAATJ111 การผลิตเครื่องเงินและเครื่องทองไทย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 นักศศึกษาสามารถฝึกปฏิบัติในการผลิต เครื่องเงินเครื่องทอง เรียนรู้กระบวนการ ในการผลิต วัสดุ อุปกรณ์ ผลจากคะเเนนสอบกลางภาค และปลายภาค ผลงานภาคปฎิบัติ ประเมินผลสัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 17 การปฎิบัติทุกสัปดาหื คะแนน เต็ม100
หนังสือการออกแบบเครื่องประดับ วัฒนะ จูฑวิภาค 
หนังสือเครื่องเงินเครื่องทองไทย 
หนังสืออัญมณีเเละเครื่องประดับ
เอกสารเครื่องเงินเครื่องทองไทย
หนังสือในห้องสมุดเกี่ยวกับเครื่องเงินเครื่องทองไทย
ประเมินผลจากผลงานของนักศึกษา ดูความก้าวหน้าของผลงาน
สอนโดยการประเมินจากผลงานของผู้เรียน เพิ่มเติมองค์ความรู้ ตามทักษะที่จะพัฒนา
ปรับปรุงการสอน ตามกระแสนิยม เครื่องเงินเครื่องทอง พร้อมทั้งศึกษาจากงานบรรพบุรุษ
สอบกลางภาค และปลายภาค ทวนสอบท้ายชั่วโมง ด้วยบททดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ปรับปรุงทุก 5 ปีที่เปิดรายวิชา และทำการเรียนการสอน