ภูมิปัญญาท้องถิ่นสิ่งทอและเครื่องประดับ

Local Wisdom of Textile and Jewelry

 
       


     1.1  รู้และเข้าใจเกี่ยวกับบริบทองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคเหนือด้านสิ่งทอและ เครื่องประดับที่สืบทอดเชื่อมโยงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
        1.2  รู้และเข้าใจการวิเคราะห์ข้อมูล อันเป็นผลมาจาก ค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณีดั้งเดิม สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เพื่อให้เกิดความสำนึกในคุณค่าของงานสิ่งทอและ เครื่องประดับอย่างยั่งยืน
  1.3 รู้และเข้าใจการนำแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์มาใช้ในในการสร้างสรรค์งานด้านสิ่งทอและ เครื่องประดับ
        1.4  มีทักษะในการนำแนวความคิดและทฤษฎี มาสร้างสรรค์การออกแบบแฟชั่นสิ่งทอและแฟชั่นเครื่องประดับที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์สู่สากลอย่างยั่งยืน
     1.5  มีคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ และการส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
 
           เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจการนำองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคเหนือด้านสิ่งทอและ เครื่องประดับที่สืบทอดเชื่อมโยงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนำมาวิเคราะห์ข้อมูล การออกแบบแฟชั่นสิ่งทอและแฟชั่นเครื่องประดับสร้างสรรค์และพัฒนาภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์สู่สากลอย่างยั่งยืน
ศึกษาเกี่ยวกับบริบทองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคเหนือและเครื่องประดับที่สืบทอดเชื่อมโยงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและการวิเคราะห์ข้อมูล อันเป็นผลมาจาก ค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณีดั้งเดิม สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เพื่อให้เกิดความสำนึกในคุณค่าของงานสิ่งทอและเครื่องประดับอย่างยั่งยืน
2ครั้งต่อสัปดาห์
1.ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2.มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารารณะ
3.มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
มีความรู้ความเข้าใจการนำองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคเหนือด้านสิ่งทอและ เครื่องประดับที่สืบทอดเชื่อมโยงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนำมาวิเคราะห์ข้อมูล สร้างสรรค์ผลงานการออกแบบสร้างสรรค์แฟชั่นสิ่งทอและแฟชั่นเครื่องประดับที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์สู่สากลอย่างยั่งยืน
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2.มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
บรรยาย  มอบหมายงานตามความเหมาะสม
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
 
       1.สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งช้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
       2.สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.2.1  บรรยายและอธิบายโดยใช้สื่อการสอน
3.2.2  การให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนแนวคิดซึ่งกันและกัน
3.3.1    สอบกลางภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.2    สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.3    สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นรายเดี่ยวและรายกลุ่ม
4.1 .1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
4.1. 2  มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง  และ สามารถทำงานร่วมกับผู้อืนได้อย่ามีประสิทธิภาพ
4.2.1  มอบหมายงานรายเดี่ยว
4.2.2  การนำเสนอผลงานเป็นรายกลุ่มบางครั้ง
4.3.1  ประเมินผลงานรายเดี่ยว
4.3.2  ประเมินผลงานจากการนำเสนอผลงานการทำงานเป็นรายกลุ่มบางครั้ง
1.สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนการใช้วิธีสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก หนังสือ วารสาร เอกสาร บทความ งานวิจัยที่ได้มาจากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือและจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสมต่อผลงานของนักศึกษา
ประเมินผลงานรายเดี่ยว  ประเมินผลงานจากการนำเสนอผลงานการทำงานเป็นรายกลุ่มบางครั้ง
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก หนังสือ วารสาร เอกสาร บทความ งานวิจัยที่ได้มาจากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือและจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ
มอบหมายงานรายเดี่ยว  การนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ103 ภูมิปัญญาท้องถิ่นสิ่งทอและเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมและจริยะธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านทักษะทางปัญญา การปฏิบัติงานรายเดี่ยวและรายกลุ่มตอนนำเสนอผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 70%
3 ด้านความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 10% 10%
4
เกสร  สุนทรศรี. งานเสื้อผ้าและการแต่งกาย, 2541.
ดนัย  เรียบสกุล.การพัฒนากระบวนการออกแบบชุดประจำชาติไทย สำหรับการนำเสนอระดับนานาชาติ .บทความวิจัย.วารสารไทยคดีศึกษา.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2556.
ทวีศักดิ์  มูลสวัสดิ์.การศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบเครื่องประดับพลอยเนื้ออ่อนของวิสาหกิจชุมชนกาญจนบุรี เพื่อขยายโอกาสทางธุรกิจ.รายงานการวิจัยฉบับย่อ,2554.
นิตยา  นวลศิริ. ผ้าทอพื้นบ้านภาคเหนือ.
นพวรรณ  หมั้นทรัพย์. ออกแบบเบื้องต้น. เชียงใหม่  :บริษัทนครฟิลม์อินเตอร์กรุฟจำกัด, 2551.
ผกา  คุโรวาท. ประวัติเครื่องแต่งกาย. กรุงเทพฯอมรการพิมพ์, 2535.
พวงทองเจือ  เขียดทอง. การออกแบบสัญลักษณ์. กรุงเทพฯ : สิปประภา, 2542.
ศูนย์สร้างสรรค์การออกแบบ. ความคิดสร้างสรรค์ในไทย. งานสัมมนา กรุงเทพฯ, 9 มิย. 51.
รจนา  ชื่นศิริกุลชัย. การสร้างนักออกแบบกลุ่มวิสาหกิจชุมชนให้มีความเป็นอัตลักษณ์ล้านนาต่อการพัฒนาแฟชั่นในระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2557.
รจนา  ชื่นศิริกุลชัย.ผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอสีธรรมชาติจากว่านยาอูเนะสู่ตลาดญี่ปุ่น. รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2559.
รจนา  ชื่นศิริกุลชัย. นวัตกรรมสีฟ้าธรรมชาติจากเมล็ดคอคอเด๊าะต่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่
          ระลึกและแฟชั่นสู่ตลาดสากล. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2559.
oursewares.mju.ac.th:81/e-learning49/ca519/Chapter1/unit1.htm
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์พฤติกรรม ปฏิกิริยา การแสดงออก ท่าทาง ความสนใจ ของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนในรายวิชานี้
2.2   ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ในภาคทฤษฎีและผลงานที่ปฎิบัติ
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สนทนากลุ่มการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยมีที่ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบแฟชั่น ได้ให้คะแนนจากผลงานต้นแบบ
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์