เคมีสำหรับวิศวกร

Chemistry for Engineers

1. เข้าใจพื้นฐานทางทฤษฎีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม
2. เข้าใจสมบัติของธาตุตามตารางธาตุพีริออดิก ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ ธาตุอโลหะและธาตุแทรนซิชัน พันธะเคมี
   ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย จลนศาสตร์เคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ
3. นำความรู้ทางเคมีไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและใช้ในชีวิตประจำวัน
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีทางเคมีที่เป็นพื้นฐานสำคัญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
2. นักศึกษาสามารถนำความรู้และทักษะต่างๆ ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อให้เนื้อหามีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานของทฤษฎีอะตอมและปริมาณสารสัมพันธ์ โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม พันธะเคมี สมบัติตามตารางพีริออดิก ธาตุเรพรีเซนเททีฟ และธาตุแทรนซิชัน สมบัติของแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย จลนศาสตร์เคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ
ให้คำแนะนำแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคลอย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์หรือมากกว่า ตามความเหมาะสม
- ตระหนักในคุณธรรมจริยธรรม และความซื่อสัตย์สุจริต
- มีวินัย เคารพกฎ ระเบียบและกติกาต่างๆ ที่ดีงามของสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นกลุ่ม
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมระหว่างการสอน
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ
- สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การแต่งกายและตรงต่อเวลา
- ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย
- มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญตามลักษณะรายวิชาเคมีสำหรับวิศวกร และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
  รวมทั้งติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอยู่เสมอ
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
โดยนำมาสรุป และเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- ประเมินผลจากการสอบด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการนำเสนอ ผลการค้นคว้าข้อมูลกรณีศึกษา
- พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ สามารถนำความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญทางเคมี
  มาใช้แก้ปัญหาโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- มอบหมายงานให้ค้นคว้าและนำเสนอ
- การอภิปรายกลุ่ม
- มีการชี้ประเด็นและยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
- มีแบบฝึกหัดให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอ
- ประเมินผลจากการตอบคำถาม การสอบ การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
- สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
- พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน
- พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานกลุ่ม
- พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
- มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล
- การนำเสนอรายงาน และอภิปรายกลุ่ม
- ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
- ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
 
- ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข
- พัฒนาทักษะในการสื่อสาร ทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน ใช้รูปแบบเครื่องมือ
  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
- มีการอธิบายเชิงทฤษฎีแล้วแสดงวิธีคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎีเหล่านั้น
- มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้น
- การนำเสนอโดยใช้รูปแบบเครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติ
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา - สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน - กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม - มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม สอนให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการเรียนในรายวิชานี้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน โดยบรรยายทฤษฎีต่างๆทางเคมี เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจหลักการทางเคมี และเน้นฝึกฝนการคำนวณที่สำคัญทางเคมีให้มีความถูกต้องโดยการยกตัวอย่างและใช้แบบทดสอบ พร้อมทั้งเฉลยเพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญในการแก้ปัญหาโจทย์ต่างๆ รวมทั้งมอบหมายให้ค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำเป็นรายงาน โดยมีการนำเสนอและสรุปร่วมกันทั้งผู้สอนและผู้เรียน โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเป็นผู้มีวินัยและความรับผิดชอบ พร้อมที่จะฝึกฝนตนเองอยู่เสมอ - มอบหมายงานให้ค้นคว้าและนำเสนอ - การอภิปรายกลุ่ม - มีการชี้ประเด็นและยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ - มีแบบฝึกหัดให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ - จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา - มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล - การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม - มีการอธิบายเชิงทฤษฎีแล้วแสดงวิธีคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎีเหล่านั้น - มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้น - การนำเสนอโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1 FUNSC201 เคมีสำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ดำเนินการรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินผลตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ จากคะแนนเต็มทั้งรายวิชา 100 คะแนน ดังนี้ (1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ด้านความรู้ (3) ทักษะทางปัญญา (4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (5) ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (6) ทักษะการจัดการการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ 9 และสัปดาห์ที่ 17 ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้องมีเวลาเข้าชั้นเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน ได้คะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวม กำหนดค่าระดับคะแนนร้อยละตามเกณฑ์ ดังนี้ คะแนนร้อยละ 80
1. คณะอนุกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตร์สาขาเคมี ทบวงมหาวิทยาลัย. (2536). เคมี 1 (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บริษัทไทยร่มเกล้า จำกัด.
2. ชัยยุทธ ช่างสาร, และเลิศณรงค์ ศรีพนม. (2543). เคมีประยุกต์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ว. เพ็ชรสกุลจำกัด.
3. ชัยยุทธ ช่างสาร, และเลิศณรงค์ ศรีพนม. (2545). เคมีสำหรับวิศวกร (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: เม็ดทรายพริ้นติ้ง.
4. ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์. (2533). หลักเคมี 1 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
5. ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์. (2536). หลักเคมี 2 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
6. นภดล ชัยคำ, พีรวรรณ พันธุมนาวิน, และลัดดาวัลย์ ผดุงทรัพย์. (2546). เคมี 1 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด. 
7. ประภาณี เกษมศรี ณ อยุธยา. (2535). เคมีทั่วไป เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 5). ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
8. รานี สุวรรณพฤกษ์. (2553). เคมีทั่วไป สำหรับสาขาวิศวกรรมศาสตร์ เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด.
9. รานี สุวรรณพฤกษ์. (2553). เคมีทั่วไป สำหรับสาขาวิศวกรรมศาสตร์ เล่ม 2 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด.
10. ศักดา ไตรศักดิ์. (2540). โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมีบนพื้นฐานทฤษฎีควันตัม (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โครงการตำราคณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
11. สันทัด ศิริอนันท์ไพบูลย์. (2542). เคมีวิทยาศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บริษัทซีเอ็ดยูเคชันจำกัด (มหาชน).
12. อินทิรา หาญพงษ์พันธ์. (2539). เคมีทั่วไปสำหรับนิสิตวิศวกรรมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ:. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
13. อุดม ศรีโยธา. (2521). เคมีทั่วไป เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
14. Brown, L.S., and Holme, T.A. (2006). Chemistry for Engineering Students. New York: Thomson Brooks/Cole Publishing.
 
 
 
1. การจัดเรียงอิเล็กตรอน. สืบค้น 25 เมษายน 2561, จาก https://sites.google.com/site/gkluip890p90pa/we-lens-xile
2. การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมและตารางธาตุ. สืบค้น 29 พฤษภาคม 2560, จาก https://curadio.chula.ac.th/Images/Class-Onair/ch/2018/2018-11-09-2519-d341808.pdf
3. การไทเทรตกรด-เบส. สืบค้น 19 พฤษภาคม 2563, จาก https://il.mahidol.ac.th/e-media/acid-base/C11-1.htm
4. กรด-เบส และสมดุลกรด-เบส. (2538). ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่:  โครงการตำราและเอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี.
5. คัดคณัฐ ชื่นวงศ์อรุณ. (2560). ตารางธาตุ (Periodic Table). สืบค้น 29 เมษายน 2561, จาก https://ngthai.com/science/25760/periodic-table/
6. ค่าการละลายและสมดุลของไอออนเชิงซ้อน. (2538). ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: โครงการตำราและเอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี.
7. โครงสร้างอะตอม. (2538). ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: โครงการตำราและเอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี.
8. โครงสร้างอะตอม. สืบค้น 26 มีนาคม 2560, จาก https://il.mahidol.ac.th/e-media/ap-chemistry1/atomic_ structure/particle.htm
9. จลนเคมี. (2538). ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: โครงการตำราและเอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี.
10. จุดเดือด จุดหลอมเหลว. สืบค้น 5 พฤษภาคม 2561, จาก https://dangwansri.wordpress.com/%E0%B8%
AB% E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81/%E0%B8%81%E0%B8%B4% E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1-2/
11. ณปภัช พิมพ์ดี. (2561). แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล. สืบค้น 15 พฤษภาคม 2562, จาก https://www.scimath.org/lesson-chemistry/item/7164-2017-06-04-15-16-29
12. ธาตุไฮโดรเจน. สืบค้น 29 เมษายน 2561, จาก https://chemistry.mju.ac.th/goverment/25610518095245_ chemistry/Doc_25610712171103_62579.pdf
13. เนตรชนก วิชัยโน. (2561). โครงสร้างโมเลกุลโคเวเลนต์. สืบค้น 11 พฤษภาคม 2562, จาก https://sites.google.com/site/tpipplebondgame04/test4
14. แบบจำลองอะตอมของทอมสัน. สืบค้น 18 มีนาคม 2560, จาก  https://sites.google.com/site/thoncatalyst/home/khorngsrang-xatxm/baeb-calxng-xatxm-
khxng-thxm- san?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1
15. ฟิสิกส์ราชมงคล. การยึดเกาะของตุ๊กแก. สืบค้น 15 พฤษภาคม 2562, จาก     http://www.neutron.rmutphysics.com/sciencenews/index.phpoption=com_content&task 
 =view&id=2082&Itemid=0
16. ฟิสิกส์ราชมงคล. เส้นสเปกตรัม. สืบค้น 18 มีนาคม 2560, จาก http://www.electron.rmutphysics.com/science- news/index.php?
     option=com_content&task=view&id=669&Itemid=4
17. ราศนิตย์ หงส์คำ. (2559). การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารโคเวเลนต์. สืบค้น 8 พฤษภาคม 2562, จาก http://www.krubee.net/index.php?option=com_content&view=article&id=9&Itemid=115
18. ราศนิตย์ หงส์คำ. (2559). การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก. สืบค้น 8 พฤษภาคม2562, จาก http://krubee.net/index.phpoption=com_content&view=article&id=4&Itemid=107
19. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2559). เทนเนสซีน. สืบค้น 2 พฤษภาคม 2561, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0% B8%97%E0%B8%99%
 E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%99
20. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2559). โอกาเนสซอน. สืบค้น 2 พฤษภาคม 2561, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B81%8%E0%
B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%99
21. สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ. การทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน. สืบค้น 18 มีนาคม 2560, จาก        http://www0.tint.or.th/nkc/nkc52/nstkc055.html
22. สมดุลเคมี. สืบค้น 24 เมษายน 2563, จาก https://milkkieblog.wordpress.com/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%
A1%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%
B8%84%E0%B8%A1%E0%B8 %B5/
23. สมบัติของธาตุและสารประกอบของธาตุหมู่ 1A และ 2A. สืบค้น 30 เมษายน 2561, จาก       http://www.satriwit3.ac.th/external_newsblog.php?links=1606
24. อนุสิษฐ์ เกื้อกูล. (2560). แก๊ส ของแข็ง ของเหลว. สืบค้น 18 พฤษภาคม 2562, จาก     https://www.scimath.org/lesson-chemistry/item/7099-2017-06-04-03-26-32
25. อนุสิษฐ์ เกื้อกูล. (2560). แบบจำลองอะตอม. สืบค้น 18 มีนาคม 2560, จาก      https://www.scimath.org/lesson-chemistry/item/7121-atomic-model
26. อิเล็กโทรเนกาติวิตี. สืบค้น 5 พฤษภาคม 2561, จาก
     https://www.quora.com/Which-halogen-has-the-lowest-electronegativity
27. Anonymous. (2559). สเปคตรัมของอะตอม. สืบค้น 18 มีนาคม 2560, จาก
     http://spectrum-physicrnm.blogspot.com/
28. BOOTCAMPDEMY. (2560). การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม. สืบค้น 25 เมษายน 2561, จาก                https://www.bootcampdemy.com/content/975-%E0%B8%81%
   E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80% E0%B8%A3%       E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0% B9%80%
   E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%AD% E0%B8%99%
  E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0% B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A1
29. BOOTCAMPDEMY. (2560). การไทเทรต. สืบค้น 19 พฤษภาคม 2563, จาก      https://www.bootcampdemy.com/content/1041-
30. wirot. (2554). การไฮโดรไลซิสของเกลือ. สืบค้น 11 พฤษภาคม 2563, จาก              http://wiroty.blogspot.com/2011/09/blog-post_641.html
31. WORDIND’S BLOG. (2553). แบบจำลองอะตอม. สืบค้น 18 มีนาคม 2560, จาก     https://wordind.wordpress.com/
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีสำหรับวิศวกร และสไลด์ Power point เนื้อหาในบทเรียน
2. ตารางธาตุปัจจุบันแบบติดผนัง
3. แบบจำลองพันธะระหว่างอะตอมและระหว่างโมเลกุล
4. แบบจำลองโครงสร้างแลตทิซผลึกของของแข็ง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
  1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
  1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ร่วมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดประชุมเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนหรือทำการวิจัย
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 1 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับเปลี่ยนเทคนิคการสอนให้มีความทันสมัยและมีความหลายหลาย เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษามีความสนใจและตั้งใจเรียนรู้ในเนื้อหารายวิชามากขึ้น
     เช่น การสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษ หรือการใช้ศัพท์เทคนิคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี