ภาษาต่างประเทศเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู

Foreign Language for the Development of Teaching Profession

เพื่อฝึก และพัฒนาด้านทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนภาษาอังฤษของนักศึกษาให้มีความรู้พื้นฐาน และสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง ในการนำไปประยุกต์ใช้ในอาชีพและพัฒนาอาชีพครู
เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนให้ทันสมัย และทันสถานการณ์ ในการพัฒนาความสามารถของนักศึกษาให้เกิดการรียนรู้เพิ่มมากขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
-
ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู การฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียนภาษาอังกฤษและภาษาในอาเซียน สามารถใช้ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียนภาษาต่างประเทศ เพื่อสื่อความหมายอย่างถูกต้อง
Study English for teaching development, practice the skills of listening, speaking, reading and writing English and/or ASEAN’s languages for learning and teaching for proper communication. The ability of listening, speaking, reading, writing foreign languages for proper communication.
ทุกวัน เวลา  17.00-19.00 น. โทร 083-946-9799
 e-mail: kkreutanu_hotmail.com เวลา 09.00 - 16.00 น. ทุกวัน
˜ 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜ 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. Lecture
2. Cooperative Team Learning
3. Brainstorming,
4. Role play
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. แบบฝึกหัด
3. ตอบคำถามปากเปล่า
4. สมมติบทบาท
5. การนำเสนอ
6. การสอบกลางภาคและปลายภาค
˜ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
1. Lecture
2. Cooperative Team Learning
3. Brainstorming,
4. Role play
 
 
 
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. แบบฝึกหัด
3. ตอบคำถามปากเปล่า
4. สมมติบทบาท
5. การนำเสนอ
6. การสอบกลางภาคและปลายภาค
š 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜ 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมใน
1. Cooperative Team Learning
2. Brainstorming
3. Role play
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. สมมติบทบาท
3. การนำเสนอ
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การพูดบทสนทนา และการนำเสนองานมอบหมาย
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. สมมติบทบาท
3. การนำเสนอหลังจากเรียนครบบทเรียน
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกสนทนา แสดงบทบาทสมมติตามสถานการณ์ที่กำหนด โดยใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
ประมินการแสดงบทบาทสมมติตามเกณฑ์ที่แจ้งนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDCC804 ภาษาต่างประเทศเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกวันที่สอน 10%
2 1.1, 1.2, 1.3, 2.1, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 2.3, 3.1, 5.3 แบบฝึกหัด บทบาทสมมติ ทุกวันที่สอน 15%
3 2.1, 2.3.,3.1 การสอบย่อย นอกเวลาเรียน 10%
4 2.1, 2.3.,3.1 การนำเสนอ งานที่มอบหมาย ประมินโดยใช้เกณฑ์การประเมืน สัปดาห์สุดท้ายของการเรียนการสอน 15%
5 2.1, 2.3.,3.1 สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9 25%
6 2.1, 2.3.,3.1 การสอบปลายภาค สัปกาห์ที่ 18 25 %
Bonamy, D. (2008). Technical English 1. England: Pearson Education Limited.
-
https://www.talkenglish.com/speaking/listregular.aspx
นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอก
เรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ
ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย https://reg.rmutl.ac.th/
หลักสูตรกำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดย
รองอธิการบดี มทร.ล้านนา ตาก จากผู้สังเกตการณ์สอนหรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของนักศึกษา
หลักสูตรมีการกำหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอนโดยการวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิง
ปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ฯลฯ
โดยสุ่มจากนักศึกษาที่มีผลการเรียนที่น่าพอใจมาสัมภาษณ์ หรือให้ทำการทดสอบอีกครั้ง
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงรายวิชาเพื่อจัดปรับ
กระบวนการสอน และการประเมินผล ในภาคการศึกษาถัดไป