คอมพิวเตอร์กราฟิกบรรจุภัณฑ์

Computer Graphic for Packaging

โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อการออกแบบบรรจุภัณฑ์ตามชนิดของวัสดุ ออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ เขียนภาพบรรจุภัณฑ์ 2 และ 3 มิติ การนำเสนอ งานออกแบบบรรจุภัณฑ์ในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป

 
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อการออกแบบบรรจุภัณฑ์ตามชนิดของวัสดุ ออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ เขียนภาพบรรจุภัณฑ์ 2 และ 3 มิติ การนำเสนอ งานออกแบบบรรจุภัณฑ์ในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดช่วงเวลาให้คำปรึกษาเกี่ยวรายวิชาที่สอนวันละ 1 ชั่วโมง(สัปดาห์ละ5ชั่วโมง) อาจารย์ประจำรายวิชาจัดให้คำปรึกษานอกเวลาผ่าน Email และ line
(1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น (3) มีจิตอาสา จิตส านึกสาธารณะ  
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชาสอน ให้มี ระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการท างาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม  
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ใน ทุกวิชา ประเมินจากผลการด าเนินงานตามแผนการสอน และประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม  
(1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง (2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์ อย่างเป็นระบบ (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม (4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบ วิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา  
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และ การประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของ รายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดย การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก ประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ  
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ (1) การทดสอบย่อย (2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดท า (4) ประเมินจากการน าเสนอรายงานในชั้นเรียน (5) ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ (6) ประเมินจากแผนการด าเนินงานศิลปนิพนธ์ที่น าเสนอ (7) ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ  
(1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ (2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์ (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทาง วิชาการและวิชาชีพได้ (4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน  
ใช้กรณีศึกษา การจัดท าโครงงาน หรือการจัดท าศิลปนิพนธ์ การมอบหมาย งานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การน าเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือ กลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น  
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการ น าเสนองาน  
(1) มีภาวะผู้น าเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถท างานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีประสิทธิภาพ (3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน ความคิดเห็นที่แตกต่าง  
สอดแทรกเรื่องความส าคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันท าหน้าที่ผู้น าและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์ งานของผู้อื่น  
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการน าเสนองาน และผลงาน กลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ  
(1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และน าเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการน าเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่ เหมาะสมส าหรับงานศิลปกรรม  
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จ าลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วน าเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การ น าเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร  
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การน าเสนอ  
(1) สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน  
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ท าตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์ สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง  
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน  
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,17 15% 15%
2 3.2,3.3,5.1,5.2,5.3 ศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงานการทำงานกลุ่มและผลงานการอ่าน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1,1.2,1.3,4.1,4.2,4.3,5.1,5.2,5.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษ 10%
sketchup pro , การออกแบบบรรจุภัณฑ์, โครงสร้างบรรจุภัณฑ์, วัสดุบรรจุภัณฑ์
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและ ความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา - ขอเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ