ทักษะช่างเกษตร และเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม

Farm Shop Skills and Farm Machinery

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นและทักษะงานช่างที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร เครื่องทุ่นแรงฟาร์มทางการเกษตร หลักการเลือก การใช้ ชนิดของเครื่องทุ่นแรงทาง การเกษตร การทำงานอย่างเหมาะสมและปลอดภัย การบำรุงรักษาเครื่องมือและเครื่อง ทุ่นแรงฟาร์มทางการเกษตร  
ศึกษาวิเคราะห์และปรับปรุงรูปแบบการใช้งาน การบำรุงรักษารถแทรกเตอร์เพื่อการเกษตรและ เครื่องทุ่นแรงฟาร์ม ระบบการให้น้ำแก่พืชที่ปลูก โดยมีการนำความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน การวิเคราะห์และออกแบบ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นและทักษะงานช่างที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร เครื่องทุ่นแรงฟาร์มทางการเกษตร หลักการเลือก การใช้ ชนิดของเครื่องทุ่นแรงทาง การเกษตร การทำงานอย่างเหมาะสมและปลอดภัย การบำรุงรักษาเครื่องมือและเครื่อง ทุ่นแรงฟาร์มทางการเกษตร
Study and practice of basic knowledge and mechanic work skills related to agriculture, working principles, use, types of agricultural labor-saving machines, working properly and safely, maintenance of agricultural tools and farm machinery appropriately.  
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
- สอดแทรกหรือยกตวัอย่างประกอบในขณะที่สอนเน้ือหาโดยสอดแทรกเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม -กำหนดหลกัเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเขา้เรียนอย่างสม่ำเสมอ - ให้งานมอบหมายและกา หนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กา หนด
-ร้อยละ 90 ของนักศึกษา เข้าเรียนตรงเวลา
-ร้อยละ 95 ของนักศึกษา ปฏิบตัิตามกฎเกณฑท์ ี่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
-ไม่มีการทุจริตในการสอบ
- มีวนิยัต่อการเรียน ส่งงานที่ไดร้ับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
ความรู้เบื้องต้นและทักษะงานช่าง เครื่องทุ่นแรงฟาร์มทางการเกษตร หลักการเลือก การใช้ เครื่องทุ่นแรงทางการเกษตร ชนิดของเครื่องทุ่นแรงทางการเกษตร ความปลอดภัยในการทำงาน  การบำรุงรักษาเครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงฟาร์มทางการเกษตร
2.2.1 ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.2.2 จัดกิจกรรมทางวิชาการและเทคโนโลยีในรู้แบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.3 การลงปฎิบ้ติงาน
- ทดสอบโดยข้อเขียน และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในช้นักเรียน - การปฎิบัติงานจริง
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)
3.2.2 มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด
3.2.3 การลงปฎิบัติงาน
3.3.1 ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา
3.3.2 ประเมินจากการทดสอบย่อย
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสรกิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
4.2.2 กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
4.2.3 ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.4 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่มและสังคม
4.3.1 ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.3 ประเมินพฤติกรรมภาวการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.4 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม - สามารถสืบค้น ศึกษาวิคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
- มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อช้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้ นักศึกษาใช้ภาษาที่ ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ - ลงปฎิบัติงาน
- ประเมินจากผลงานที่ต้องวิเคราะห์เชิงปริมาณ
- ประเมินจากการใชส้ื่อและภาษาที่ใชใ้นการเขียนรายงานและการนา เสนอในช้นั เรียน
- ประเมินจากการนำเสนอขอ้ มูลอย่างเป็นระบบ โดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลข กราฟหรือตาราง
- มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกัน เป็นอย่างดี
ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย มอบหมายงานปฏิบัติจากของจริง
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านในการปฏิบัติงานและมีการบันทึกเป็นระยะ ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG013 ทักษะช่างเกษตร และเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 จิตพิสัย เวลาเรียน/จิตพิสัย/กิจกรรม ตลอดเทอม 10%
2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 18 20% 20%
3 การปฎิบัติตามใบงาน การปฎิบัติตามใบงาน ตลอดเทอม 50%
- บพิตร ตั้งวงค์กิจ และรัตนา ตั้งวงศ์กิจ. 2553. อุปกรณ์และเครื่องจักรกลเกษตร. ภาควิชาเกษตรกลวิธาร คณะเกษตรกาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2 ส านักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ - สมชัย เกาสมบัติ. 2531. ทฤษฎีการใช้งานและการซ่อมบ ารุงเครื่องจักกลการเกษตร. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง. พิมพ์ครั้งที่ 1  
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.4 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน นำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการเรียนการสอน
ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม