สื่อศิลปะ 4

Media Art 4

ฝึกปฏิบัติสร้างสรรค์และเข้าใจพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับศิลปะจัดวางวีดีโอ ศิลปะโต้ตอบ ศิลปะไฮบริดจ์ และอิเล็กทรอนิกส์อาร์ต ฝึกปฏิบัติในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะจัดวางวีดีโอ ศิลปะโต้ตอบ ศิลปะไฮบริดจ์ และอิเล็กทรอนิกส์อาร์ต ฝึกปฏิบัติการนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาผสมผสานในงานทัศนศิลป์ และสร้างสรรค์ผลงานศิลปะไฮบริดจ์ ฝึกปฏิบัติการนำเสนอผลงานผ่านเอกสารประกอบการสร้างสรรค์ จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของภาพและวีดีโอ
-
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับศิลปะจัดวางวีดีโอ ศิลปะโต้ตอบ ศิลปะไฮบริดจ์ และอิเล็กทรอนิกส์อาร์ต ปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะจัดวางวีดีโอ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในศิลปะโต้ตอบ นำอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาผสมผสานในงานทัศนศิลป์ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะไฮบริดจ์ นำเสนอผลงานผ่านเอกสารประกอบการสร้างสรรค์ จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของภาพและวีดีโอ   
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
 
(1)  ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(2)  มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น   
(3)  มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา  สอนให้มี ระเบียบวินัย  ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทางาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา  ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
(1)  รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง            
(2)  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ  
(3)  มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ  วัฒนธรรม             
(4)  มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบ  วิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา                           
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และ การประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของ รายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดย การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก ประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ                   
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา  ในด้านต่าง ๆ คือ
(1)  การทดสอบย่อย                               
(2)  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3)  ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
(4)  ประเมินจากการน าเสนอรายงานในชั้นเรียน
(5)  ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
(6)  ประเมินจากแผนการดำเนินงานศิลปะนิพนธ์ที่นำเสนอ                
(7)  ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
(1)  สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
(2)  สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์                         
(3)  สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ  และวิชาชีพได้ 
(4)  มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน                     
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา                                     ใช้กรณีศึกษา  การจัดทำโครงงาน  หรือการจัดทำศิลปนิพนธ์  การ มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล   การน าเสนองาน โดยอภิปราย เดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น                    
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน  การปฏิบัติงานของนักศึกษา  และการ น าเสนองาน 
(1)  มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  และ มนุษย์สัมพันธ์ที่ดี            
(2)  มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น   อย่างมีประสิทธิภาพ             
(3)  สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน     ความคิดเห็นที่แตกต่าง
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษย์สัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม   การเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น   การประสานงานกับบุคคลภายนอก   การแสดงความคิดเห็น และการ วิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ                                    ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการน าเสนองาน และผลงาน กลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ  
(1)  สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป    ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี   ประสิทธิภาพ                
(2)  สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ   สร้างสรรค์ผลงานหรือการน าเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ                
(3)  มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่    เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม                     
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วน าเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศ    ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล  โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล   การน าเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร                        
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข  การเลือกใช้เครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม   ประเมินจากการอธิบาย  การนำเสนอ
(1)  มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ                                  
(2)  มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                                   
(3)  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน                      
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์   สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                      
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรมจริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 3. มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 4. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 1. สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 2. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถบูรณาการความรู้กับสาสตร์อื่นเพื่อสร้างผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 4. มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างสรรค์ 1. มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้ชีวิตการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสำหรับงานศิลปกรรม 1. มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 3. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์
1 BFAVA142 สื่อศิลปะ 4
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 กระบวนการสร้างสรรค์และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับงานดิจิตอลและสื่อศิลปะ รูปแบบและแนวคิดในการสร้างสรรค์ศิลปะจัดวางประเภทต่างๆ ประเมินตามหน่วยการเรียน ตามเอกสารประกอบการสอน ตามตารางกำหนดน้ำหนักคะแนนการประเมินผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ 1 6.5 คะแนน
2 กระบวนการสร้างสรรค์งานดิจิตอลและสื่อศิลปะในรูปแบบศิลปะจัดวางวีดีโอจากพื้นฐานการใช้ภาพถ่าย และภาพพิมพ์ดิจิตอล ประเมินตามหน่วยการเรียน ตามเอกสารประกอบการสอน ตามตารางกำหนดน้ำหนักคะแนนการประเมินผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ 2 - 3 13 คะแนน
3 กระบวนการสร้างสรรค์งานดิจิตอลและสื่อศิลปะในรูปแบบศิลปะจัดวางวีดีโอโดยใช้เทคนิควิดีโออาร์ตและภาพยนตร์ ประเมินตามหน่วยการเรียน ตามเอกสารประกอบการสอน ตามตารางกำหนดน้ำหนักคะแนนการประเมินผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ 4 - 5 13 คะแนน
4 กระบวนการสร้างสรรค์งานดิจิตอลและสื่อ ศิลปะในรูปแบบศิลปะจัดวางอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคนิคเสียง ประเมินตามหน่วยการเรียน ตามเอกสารประกอบการสอน ตามตารางกำหนดน้ำหนักคะแนนการประเมินผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ 6 - 7 9.5 คะแนน
5 กระบวนการสร้างสรรค์งานดิจิตอลและสื่อศิลปะในรูปแบบศิลปะจัดวางวีดีโอ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ศิลปะโต้ตอบ ประเมินตามหน่วยการเรียน ตามเอกสารประกอบการสอน ตามตารางกำหนดน้ำหนักคะแนนการประเมินผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่ 10 - 12 29 คะแนน
6 กระบวนการสร้างสรรค์ศิลปะไฮบริดจ์ งานดิจิตอลและสื่อศิลปะในรูปแบบศิลปะจัดวางด้วยอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ ประเมินตามหน่วยการเรียน ตามเอกสารประกอบการสอน ตามตารางกำหนดน้ำหนักคะแนนการประเมินผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ 13 - 16 29 คะแนน
หนังสือภาษาไทย
 
จีราวุธ วารินทร์. (2561) Arduino ขั้นพื้นฐาน จาก Arduino Uno พื้นฐานสำหรับงาน loT. กรุงเทพฯ : รีไวว่า
ซิลเวีย มาร์ติน. (2552). วิดีโออาร์ต. กรุงเทพฯ : เดอะเกรทไฟน์อาร์ท.
ประจิน พลังสันติสุข. พื้นฐานภาษา C สำหรับ Arduino. กรุงเทพฯ : แอพซอฟต์เทค จำกัด
สุรพงษ์ บัวเจริญ. (2554).  องค์ประกอบศิลป์สำหรับนักถ่ายภาพ. กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส.
เอกชัย มะการ. (2522) เรียนรู้และเข้าใจใช้งานไมโครคอนโทรเลอร์ตระกูล AVR ด้วย Arduino. กรุงเทพฯ : อีทีที จำกัด
 
หนังสือภาษาอังกฤษ
 
Boisclair, Louise. (2013).  L’installation interactive : un laboratoire d’expériences parceptuelles pour le participant-chercheur. Québec : Presses de l’université du Québec.
Paul, Christiane. (2015). Digital Art. London : Thames& Hudson Ltd.
Rush, Michael. (2005). New Media in Art. New York : Thames& Hudson Ltd.
-
https://www.arduino.cc/
https://troikatronix.com/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนดทุกครั้ง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยผลงานสร้างสรรค์เพื่อประกอบการเรียนรู้
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   ปรับปรุงรายวิชาในทุกภาคเรียนเพื่อให้สอดคล้องกับการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆที่เชื่อมโยงกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21