เทคโนโลยีสถาปัตยกรรมภายใน 1

Interior Architectural Technology 1

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในงานโครงสร้างสถาปัตยกรรมภายใน หลักการวิธีการเขียนแบบและการขยายแบบ ครุภัณฑ์ในงานสถาปัตยกรรมภายใน ฝึกปฏิบัติการเขียนแบบ การขยายแบบครุภัณฑ์ด้วยเครื่องมือเขียนแบบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ    ในเทคโนโลยี หลักการและวิธีการเขียนแบบ และการขยายแบบ ครุภัณฑ์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่jน ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านงานสถาปัตยกรรมภายในที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการ หลักเกณฑ์ลักษณะงานโครงสร้างสถาปัตยกรรมภายใน  หลักการวิธีการเขียนแบบและการขยายแบบ ครุภัณฑ์ในงานสถาปัตยกรรมภายใน ฝึกปฏิบัติการเขียนแบบ การขยายแบบครุภัณฑ์ด้วยเครื่องมือเขียนแบบ
ตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
อบรมนักศึกษาด้านวินัย ขยัน อดทน และความรับผิดชอบ

1.1.2 เช็คชื่อทุกครั้ง มีกติกาถ้าเกินเวลาที่กำหนดสาย จัดกลุ่มนักศึกษาช่วยงานประจำสัปดาห์
จัดให้นักศึกษาส่งงานที่ทำเสร็จแล้วด้วยตัวเอง ณ ชั้นส่งผลงานที่ผู้สอนจัดไว้ให้  ซึ่งนักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบและทางานตามกำหนดเวลา
1.3.1   สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน ความรับผิดชอบในการดูแลห้องเรียน
         และสภาพแวดล้อม
1.3.2   จากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
1.3.3   จากการทำงานที่มอบหมายครบและทันตามกำหนดเวลาในแต่ละขั้นตอน
         ในทุกๆสัปดาห์
มีความรู้และทักษะในหลักการ ความสำคัญ องค์ประกอบของโครงสร้างสถาปัตยกรรมภายใน และสามารถตระหนักถึงความสำคัญของลักษณะโครงสร้างต่างๆของเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมภายใน เพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับงานทางสถาปัตยกรรมภายใน
บรรยาย  ฝึกปฏิบัติ  และมอบหมายให้ทำโครงการเกี่ยวกับการเขียนแบบ ขยายแบบครุภัณฑ์ในงานสถาปัตยกรรมภายใน ฝึกการเขียนแบบ ขยายแบบด้วยเครื่องมือเขียนแบบ  และศึกษาดูงานนอกห้องเรียนในสถานที่จริง
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี รวมทั้งการแก้ปัญหาทางสถาปัตยกรรมภายใน
2.3.2   ปฏิบัติงานเขียนแบบเครื่องเรือนตามหัวข้อที่กำหนดได้อย่างถูกต้อง
2.3.3   ประเมินจากการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย ปลายภาคเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากความผิดพลาดทางเทคโนโลยีการเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน
3.2.1   บรรยายในหัวข้อ ที่เกี่ยวกับความผิดพลาดทางเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมภายใน
3.2.2   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการเลือกใช้ข้อมูลทางเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมภายในที่เหมาะสม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดระดับความรู้ ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้ข้อมูลทางโครงสร้างเครื่องเรือนและสถาปัตยกรรมภายใน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินผลงานรายสัปดาห์ และโครงการเขียนแบบปลายภาคเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 2
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 1
1 BARIA303 เทคโนโลยีสถาปัตยกรรมภายใน 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1.ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน 2.รายงานรูปเล่ม การส่งงานตรงต่อเวลา 1.ทุกสัปดาห์ 2.สัปดาห์ที่18 1.ทุกสัปดาห์ 10% 2.สัปดาห์ที่18 5%
2 ความรู้ 1.ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออก ของนักศึกษาในการอภิปราย ในช่วงระหว่างการเรียน การสอน 2.สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 3.วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าและ สรุปผลตามขอบเขตที่กำหนดให้ 1. ทุกสัปดาห์ 2.สอบกลางภาค,สอบปลายภาค 3.สัปดาห์ที่2,12 1. ทุกสัปดาห์ 5% 2.สอบกลางภาค,สอบปลายภาค20% 3.สัปดาห์ที่2,12 10%
3 ทักษะทางปัญญา 1.ผลงานปฏิบัติงาน โดยการใช้เครื่องมือเขียนแบบ และวิเคราะห์ผลงาน การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น สัปดาห์ที่ 2,3,4,5,6,7,9,10,11,13,14,15,16 ที่4 50%
- INTERIOR DESIGN  ILLUSTRATED
Francis D.K. Ching , Van nostrand reinhold : New york.
- การออกแบบเครื่องเรือน
สาคร  สนธโชติ , สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ.
- DESIGNING  FURNITURE
Laura  Tringali , The Taunton Press , Inc Connecticut.
- เขียนแบบช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม
อินทิรา  ศตสุข , สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) : กรุงเทพฯ
- การออกแบบเครื่องเรือนสมัยใหม่
ร.ศ. วิรัตน์  พิชญไพบูลย์ , สำนักพิมพ์จุฬาฯ : กรุงเทพฯ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
        แบบเครื่องเรือนจากสำนักงานออกแบบ
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
      หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอนและหาข้อมูล เพิ่มเติม ในการ ปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอนเน้นตัวอย่างจริงให้มากที่สุด
วัดผลจากความเข้าใจในการปฎิบัติงานเขียนแบบ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวัง จากการ
เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ
ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจ สอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุง การสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือด้าน สถาปัตยกรรม,สถาปัตยกรรมภายใน