โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึม
Data Structure and Algorithm
เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการ ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
เพื่อให้เข้าใจแนวคิดพื้นฐานของโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม เพื่อให้เข้าใจการพัฒนา และการวัดประสิทธิภาพความซับซ้อนของอัลกอริทึมอย่างง่ายได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้เข้าใจอัลกอริทึมพื้นฐานที่ใช้กับโครงสร้างข้อมูล เพื่อให้เข้าใจโครงสร้างข้อมูลรูปแบบต่างๆ ทั้งแบบเชิงเส้นและไม่ใช่เชิงเส้น เพื่อนำโครงสร้างข้อมูลไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับงานลักษณะต่างๆ เพื่อมีทักษะการเขียนโปรแกรมจัดการกับโครงสร้างข้อมูลรูปแบบต่างๆ เพื่อมีทักษะในการเขียนโปรแกมเรียงลำดับข้อมูลและค้นหาข้อมูลด้วยเทคนิคต่างๆ
เพื่อให้เข้าใจแนวคิดพื้นฐานของโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม เพื่อให้เข้าใจการพัฒนา และการวัดประสิทธิภาพความซับซ้อนของอัลกอริทึมอย่างง่ายได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้เข้าใจอัลกอริทึมพื้นฐานที่ใช้กับโครงสร้างข้อมูล เพื่อให้เข้าใจโครงสร้างข้อมูลรูปแบบต่างๆ ทั้งแบบเชิงเส้นและไม่ใช่เชิงเส้น เพื่อนำโครงสร้างข้อมูลไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับงานลักษณะต่างๆ เพื่อมีทักษะการเขียนโปรแกรมจัดการกับโครงสร้างข้อมูลรูปแบบต่างๆ เพื่อมีทักษะในการเขียนโปรแกมเรียงลำดับข้อมูลและค้นหาข้อมูลด้วยเทคนิคต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลที่จัดเก็บในหน่วยความจำของระบบคอมพิวเตอร์ โดยที่จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการนำอัลกอริทึมมาประยุกต์ในการแก้ไขปัญหาทางด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการแนะนำ แนวคิดพื้นฐานของโครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี รวมถึงการเรียกซ้ำ โครงสร้างข้อมูลแบบต่างๆ ทั้งที่เป็นเชิงเส้นและไม่เป็นเชิงเส้น โครงสร้างข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ สแตก คิว ลิงค์ลิสต์ โครงสร้างแบบต้นไม้และกราฟ อัลกอริทึมพื้นฐานและการวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี เช่น การค้นหาข้อมูล และการเรียงข้อมูล
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 ตระหนักในคุณค่าและ คุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และ ความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นําและ ผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมและ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลําดับความสําคัญ
1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพใน คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์
1.5 เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและ สังคม
1.6 สามารถวิเคราะห์ ผลกระทบจากการใช้ คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและ สังคม
1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และ ความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นําและ ผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมและ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลําดับความสําคัญ
1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพใน คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์
1.5 เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและ สังคม
1.6 สามารถวิเคราะห์ ผลกระทบจากการใช้ คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและ สังคม
1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ
การสอนแบบบรรยายพร้อมยกตัวอย่างและฝึกปฏิบัติงาน
เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม
มอบหมายงานกลุ่มที่เสริมสร้างการวางแผนการทำงาน การทำงานเป็นทีม การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย เน้นการเข้าห้องเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายให้ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความซื่อสัตย์โดยไม่ทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านหรือผลงานของผู้อื่น สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการสอนในรายวิชา
พิจารณาจากการส่งงานของนักศึกษาทั้งงานกลุ่มและเป็นรายบุคคลที่เป็นแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา
การนำเสนองาน
การสังเกตพฤติกรรม การเข้าห้องเรียน การแต่งกายถูกระเบียบของมหาวิทยาลัยและการทำงานเป็นกลุ่ม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการเเละทฤษฎีที่ สําคัญในเนื้อหาสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการ ทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ ความรู้ทักษะ และการใช้ เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไข ปัญหา
2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/ หรือประเมินระบบองค์ประกอบ ต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยี สารสนเทศให้ตรงตามข้อกําหนด
2.4 สามารถติดตาม ความก้าว หน้าและวิวัฒนาการ คอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนําไป ประยุกต์
2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนา ความรู้ ความชํานาญทาง คอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยี ใหม่ๆ
2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.8 สามารถบูรณาการความรู้ ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการ ทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ ความรู้ทักษะ และการใช้ เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไข ปัญหา
2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/ หรือประเมินระบบองค์ประกอบ ต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยี สารสนเทศให้ตรงตามข้อกําหนด
2.4 สามารถติดตาม ความก้าว หน้าและวิวัฒนาการ คอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนําไป ประยุกต์
2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนา ความรู้ ความชํานาญทาง คอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยี ใหม่ๆ
2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.8 สามารถบูรณาการความรู้ ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชาโดยใช้สื่อประกอบการสอน
ยกตัวอย่างกรณีศึกษาพร้อมให้นักศึกษา วิเคราะห์ปัญหา ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็น
ให้นักศึกษาสืบค้นหาข้อมูลเทคโนโลยีใหม่ๆที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหารายวิชาในชั่วโมงเรียน
ประเมินผลจากแบบทดสอบ การสอบลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นทฤษฎีและปฏิบัติ
ประเมินผลจากแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินจากการทำรายงานและการนำเสนอ
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณ และอย่างเป็นระบบ
3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ ในการแก้ไขปัญหาอย่าง
3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ
3.4 สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะกับการแก้ไขปัญหา ทางคอมพิวเตอร์ได้อย่าง เหมาะสม
3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ ในการแก้ไขปัญหาอย่าง
3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ
3.4 สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะกับการแก้ไขปัญหา ทางคอมพิวเตอร์ได้อย่าง เหมาะสม
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติ
การมอบหมายให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม นำเสนอผลการศึกษา
เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามเพื่อแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา
ประเมินผลจากแบบทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เป็นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ
ประเมินจากการทำรายงานและการนำเสนอ
สังเกตพฤติกรรมในการแก้ไขปัญหา
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคน หลากหลายและสามารถสนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือ และอํานวยความสะดวกเเก่การ แก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆใน กลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นํา หรือ ในบทบาทของผู้ร่วมทีมทํางาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ใน ศาสตร์มาชี้นําสังคมในประเด็นที่ เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการ กระทําของตนเองและรับผิดชอบ งานในกลุ่ม
4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดง ประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้ง ของตนเองและของกลุ่ม
4.6 มีความรับผิดชอบการ พัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือ และอํานวยความสะดวกเเก่การ แก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆใน กลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นํา หรือ ในบทบาทของผู้ร่วมทีมทํางาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ใน ศาสตร์มาชี้นําสังคมในประเด็นที่ เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการ กระทําของตนเองและรับผิดชอบ งานในกลุ่ม
4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดง ประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้ง ของตนเองและของกลุ่ม
4.6 มีความรับผิดชอบการ พัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายงานกลุ่มงานรายบุคคล และการนำเสนอรายงาน
ประเมินการเข้าชั้นเรียนและการตรงต่อเวลาของนักศึกษา
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือ ที่จําเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการ ทํางานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2 สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศ ทางคณิตศาสตร์หรือการแสดง สถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่ เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมี ประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและ การเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อ การนําเสนอ อย่าง เหมาะสม
5.4 สามารถใช้สารสนเทศและ เทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
5.2 สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศ ทางคณิตศาสตร์หรือการแสดง สถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่ เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมี ประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและ การเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อ การนําเสนอ อย่าง เหมาะสม
5.4 สามารถใช้สารสนเทศและ เทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
- การนำเสนองาน
- การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อทางเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) | 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) | 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) | ||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 ตระหนักในคุณค่าและ คุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต | 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และ ความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม | 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นําและ ผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมและ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลําดับความสําคัญ | 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพใน คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์ | 1.5 เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและ สังคม | 1.6 สามารถวิเคราะห์ ผลกระทบจากการใช้ คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและ สังคม | 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ | 2.4 สามารถติดตาม ความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนําไปประยุกต์ | 2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชํานาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง | 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ | 2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง | 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการเเละทฤษฎีที่ สําคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ | 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการ ทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา | 2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/ หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกําหนด | 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณ และอย่างเป็นระบบ | 3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม | 3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ | 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม | 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคน หลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ | 4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือ และอํานวยความสะดวกเเก่การ แก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นํา หรือ ในบทบาทของผู้ร่วมทีมทํางาน | 4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม | 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดง ประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม | 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง | 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จําเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทํางานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ | 5.2 สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ | 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมี ประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนําเสนออย่างเหมาะสม | 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม |
1 | BSCCT503 | โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึม |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.2, 2.1, 2.2, 3.3, 3.4, 4.4 | แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนที่ 1 - 8 | 1-8 และ 10-14 | 10% |
2 | 5.4, 5.6, 6.1 | สอบปฎิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยโครงสร้างข้อมูลที่เหมาะสมสำหรับแก้ปัญหาของโจทย์ | 8 | 10% |
3 | 2.1, 2.2, 2.5, 2.6, 3.3, 3.4 | สอบกลางภาค | 9 | 25% |
4 | 2.5, 2.9, 3.3, 3.4, 5.1, 5.3, 5.4, 5.6 | การอภิปรายรูปแบบของอัลกอริทึมการจัดเรียงและการค้นหาข้อมูล และการประยุกต์ใช้อัลกอริทึมการจัดเรียงและการค้นหาข้อมูลในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยการนำเสนอเป็นกลุ่ม | 15-17 | 20% |
5 | 2.1, 2.2, 2.5, 2.6, 3.1, 3.3, 3.4 | สอบปลายภาค | 18 | 25% |
6 | 1.2, 4.4, 4.6 | สังเกตความตั้งใจเรียน, ความรับผิดชอบต่อหน้าที่, ตรงต่อเวลา, ความมีน้ำใจหรือมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนและอาจาย์ (จิตพิสัย) | 1-18 | 10% |
- นิสาชล โตอดิเทพย์, พิมพ์ครั้งที่ 2, “โครงสร้างข้อมูล (Data Structures)”, กรุงเทพฯ : โอ.อส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2541.
- ปิยทัสน์ ฉัตรวรวิทย์, พิมพ์ครั้งที่ 1, “โครงสร้างข้อมูลด้วย Java”, กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น, 2552.
- วิษณุ ช้างเนียม, พิมพ์ครั้งที่ 1, “คู่มือเรียนโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม (Data Structure & Algorithm)”, นนทบุรี : ไอดีซีฯ, 2556.
- ปิยทัสน์ ฉัตรวรวิทย์, พิมพ์ครั้งที่ 1, “โครงสร้างข้อมูลด้วย Java”, กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น, 2552.
- วิษณุ ช้างเนียม, พิมพ์ครั้งที่ 1, “คู่มือเรียนโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม (Data Structure & Algorithm)”, นนทบุรี : ไอดีซีฯ, 2556.
โปรแกรมภาษา Java ในการสาธิตการสร้างอัลกอริทึม
- จรณิต แก้วกังวาล. (2537). โครงสร้างไฟล์ข้อมูล อัลกอริทึมและการจัดการไฟล์ข้อมูล. บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) : กรุงเทพฯ.
- ธีรวัฒน์ ประกอบผล, พิมพ์ครั้งที่ 1, “เขียนโปรแกรมภาษา Java สำหรับผู้เริ่มต้น”, กรุงเทพฯ : รีไวว่า, 2556.
- นิสาชล โตอดิเทพย์. (2541). โครงส้รางข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ.
- บุญเจริญ ศิริเนาวกุล และ พิพัฒน์ ศุภศิริสันต์. (2550). โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม. สำนักพิมพ์ท้อป : กรุงเทพฯ.
- วิษณุ ช้างเนียน. (2556). คู่มือเรียนโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัทไอดีซีพรีเมียร์ จำกัด : นนทบุรี.
- สมชาย ประสิทธิ์จูตระกูล. (2553). การออกแบบและวิเคราะห์อัลกอริทึม. พิมพ์ครั้งที่ 4. ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : กรุงเทพฯ.
- สานนท์ เจริญฉาย. (2546). การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม (กรณีตัวอย่างภาษาซี). พิมพ์ครั้งที่ 6. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุ : กรุงเทพฯ.
- สุชาย ธนวเสถียร และ วิชัย จิวังกูร. (2532). โครงสร้างข้อมูลเพื่อการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด : กรุงเทพฯ.
- สุดา เธียรมนตรี, พิมพ์ครั้งที่ 2, “คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา Java ฉบับสมบูรณ์ (2nd Edition)”, นนทบุรี : ไอดีซีฯ, 2556.
- อรพิน ประวัติบริสุทธ์, พิมพ์ครั้งที่ 1, “คู่มือเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Java ฉบับสมบูรณ์”, กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น, 2556.
- โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2559). โครงสร้างข้อมูล (Data Structures) เพื่อการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม). ซีเอ็ดยูเคชั่น : กรุงเทพฯ.
- Dixit J. B. (2009). Computer Fundamentals and Programming in C. 2rd ed. Firewall Media : New Delhi.
- Kruatrachue B. and Siriboon K. 2017. 01076249 Data Structures & Algorithms : Complexity. Department of Computer Engineering, Faculty of Engineering, King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang. (Online). Available URL : http://www.ce.kmitl.ac.th/ download.php?DOWNLOAD_ID=4162&database=subject_download
- Thomas H. Cormen, Charles E. Leiserson, Ronald L. Rivest. (1995). Introduction to Algorithms. 15th ed. The MIT Press : USA.
- จรณิต แก้วกังวาล. (2537). โครงสร้างไฟล์ข้อมูล อัลกอริทึมและการจัดการไฟล์ข้อมูล. บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) : กรุงเทพฯ.
- ธีรวัฒน์ ประกอบผล, พิมพ์ครั้งที่ 1, “เขียนโปรแกรมภาษา Java สำหรับผู้เริ่มต้น”, กรุงเทพฯ : รีไวว่า, 2556.
- นิสาชล โตอดิเทพย์. (2541). โครงส้รางข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ.
- บุญเจริญ ศิริเนาวกุล และ พิพัฒน์ ศุภศิริสันต์. (2550). โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม. สำนักพิมพ์ท้อป : กรุงเทพฯ.
- วิษณุ ช้างเนียน. (2556). คู่มือเรียนโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัทไอดีซีพรีเมียร์ จำกัด : นนทบุรี.
- สมชาย ประสิทธิ์จูตระกูล. (2553). การออกแบบและวิเคราะห์อัลกอริทึม. พิมพ์ครั้งที่ 4. ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : กรุงเทพฯ.
- สานนท์ เจริญฉาย. (2546). การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม (กรณีตัวอย่างภาษาซี). พิมพ์ครั้งที่ 6. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุ : กรุงเทพฯ.
- สุชาย ธนวเสถียร และ วิชัย จิวังกูร. (2532). โครงสร้างข้อมูลเพื่อการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด : กรุงเทพฯ.
- สุดา เธียรมนตรี, พิมพ์ครั้งที่ 2, “คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา Java ฉบับสมบูรณ์ (2nd Edition)”, นนทบุรี : ไอดีซีฯ, 2556.
- อรพิน ประวัติบริสุทธ์, พิมพ์ครั้งที่ 1, “คู่มือเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Java ฉบับสมบูรณ์”, กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น, 2556.
- โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2559). โครงสร้างข้อมูล (Data Structures) เพื่อการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม). ซีเอ็ดยูเคชั่น : กรุงเทพฯ.
- Dixit J. B. (2009). Computer Fundamentals and Programming in C. 2rd ed. Firewall Media : New Delhi.
- Kruatrachue B. and Siriboon K. 2017. 01076249 Data Structures & Algorithms : Complexity. Department of Computer Engineering, Faculty of Engineering, King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang. (Online). Available URL : http://www.ce.kmitl.ac.th/ download.php?DOWNLOAD_ID=4162&database=subject_download
- Thomas H. Cormen, Charles E. Leiserson, Ronald L. Rivest. (1995). Introduction to Algorithms. 15th ed. The MIT Press : USA.
- เนรมิต ชุมสาย ณ อยุธยา, โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมด้วย (Java), สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 10, 2560, เว็บไซต์ : http://sci.feu.ac.th/faa/dsa/dsa.html
- รศ. ดร. สมชาย ประสิทธิ์จูตระกูล, (2549), โครงสร้างข้อมูล (ฉบับจาวา), สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 10, 2560, เว็บไซต์ : https://www.cp.eng.chula.ac.th/~somchai/ULearn/DataStructures /index.htm
- โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม, สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 10, 2560, จาก THAIALL.COM เว็บไซต์ : http://www.thaiall.com/datastructure/
- เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
- รศ. ดร. สมชาย ประสิทธิ์จูตระกูล, (2549), โครงสร้างข้อมูล (ฉบับจาวา), สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 10, 2560, เว็บไซต์ : https://www.cp.eng.chula.ac.th/~somchai/ULearn/DataStructures /index.htm
- โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม, สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 10, 2560, จาก THAIALL.COM เว็บไซต์ : http://www.thaiall.com/datastructure/
- เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ด้านวิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการโดย
1.1 แบบประเมินความพึงพอใจการเรียนการสอน โดยฝ่ายวิชาการของมหาวิทยาลัย
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.1 แบบประเมินความพึงพอใจการเรียนการสอน โดยฝ่ายวิชาการของมหาวิทยาลัย
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การพิจารณาผลงานที่มอบหมาย
2.3 การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
2.1 การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การพิจารณาผลงานที่มอบหมาย
2.3 การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
หลังจากทราบผลการประเมินการสอน จึงมีการปรับปรุงการเรียนการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยพิจารณาจากประเด็นในการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา
3.2 การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
3.1 รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยพิจารณาจากประเด็นในการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา
3.2 การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบ และหลังการออกผลการเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา โดยให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนรายงานผลการเรียน
ผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยมีการปรับปรุงเนื้อหา ตัวอย่างที่ใช้ในการเรียนการสอนให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป