แหล่งท่องเที่ยวโบราณคดี ประวัติศาสตร์ และการอนุรักษ์

Historical Tourist Attractions and Conservation

1.1) ความหมาย ความสำคัญของการอนุรักษ์
1.2) แนวทางและวิธีการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ
1.3) ข้อควรปฏิบัติ ข้อห้าม และข้อแนะนำในการเที่ยวชมแหล่งโบราณสถาน แหล่งท่องเที่ยวทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ที่สำคัญในประเทศไทย
1.4) มรดกโลกและแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย
1.5) การบูรณะ กฎหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทั้งในและต่างประเทศ
2.1) การศึกษาดูงานในแหล่งท่องเที่ยวโบราณคดีและประวัติศาสตร์
ความหมาย ความสำคัญของการอนุรักษ์ แนวทางและวิธีการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ข้อควรปฏิบัติ ข้อห้าม และข้อแนะนำในการเที่ยวชมแหล่งโบราณสถาน แหล่งท่องเที่ยวทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ที่สำคัญในประเทศไทย มรดกโลกและแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย การบูรณะ กฎหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทั้งในและต่างประเทศ การศึกษาดูงานในแหล่งท่องเที่ยวโบราณคดีและประวัติศาสตร์
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านแชทกลุ่มไลน์ - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1) มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.1.2) มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
1.1.3) มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น
1.1.4) มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฏระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.1) กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน
1.2.2) สอนคุณธรรม จริยธรรม สอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
1.2.3) สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
1.2.4) สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณ
1.2.5) การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่าง ๆ
1.2.6) การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
1.3.1) ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย
1.3.2) สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
1.3.3) ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
1.3.4) กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก
1.3.5) ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน
2.1.1) มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
2.1.2) มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.3) มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพ
2.2.1) การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
2.2.2) ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ
2.2.3) อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
2.2.4) การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน
2.2.5) ฝึกปฏิบัติร่วมกับสถานประกอบการ
2.2.6) ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมกับมืออาชีพ (Professional) ในวิชานั้น ๆ
2.3.1) ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน
2.3.2) ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
2.3.3) ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
2.3.4) ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
3.1.1) มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก
3.1.2) มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
3.1.3) มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล
3.2.1) ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนการวิจัย
3.2.2) การอภิปรายเป็นกลุ่ม
3.2.3) การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา
3.2.4) การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ
3.2.5) กำหนดให้มีรายวิชาที่ต้องใช้ทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการการบริการการควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม
3.3.1) ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ
3.3.2) การสอบข้อเขียน
3.3.3) การเขียนรายงาน
4.1.1) มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้
4.1.2) มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
4.1.3) มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
4.2.1) บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ
4.2.2) มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
4.2.3) สอนโดยใช้กรณีศึกษา
4.3.1) ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
4.3.2) ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (Peer)
4.3.3) ใช้ประวัติสะสมงาน (Portfolio) ในการประเมิน
4.3.4) สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
4.3.5) ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา
5.1.1) มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2) มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
5.1.3) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1) ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการสอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ
5.2.2) ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน
5.2.3) นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน
5.2.4) บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ
5.2.5) ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
5.3.1) ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
5.3.2) ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
5.3.3) ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์
5.3.4) ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
6.1.1) มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ
6.1.2) มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ
6.1.3) มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล
6.2.1) ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ
6.2.2) จัดสอบตามสมรรถนะวิชาชีพทั้งภายในและศูนย์ทดสอบภายนอก
6.2.3) ทดสอบทางด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการทำงานที่มีมาตรฐานสากล
6.3.1) ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน
6.3.2) ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
6.3.3) ประเมินผลจากผลสอบภาษาต่างประเทศที่มีมาตรฐาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะ การวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะด้าน การปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 2 3 1 1 2 3
1 BOATH126 แหล่งท่องเที่ยวโบราณคดี ประวัติศาสตร์ และการอนุรักษ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1 - บทที่ 7 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม - ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน ( การเข้าชั้นเรียน ) ตลอดทั้งภาคเรียน 10 %
2 บทที่ 1 - บทที่ 7 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ - ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค ( สัปดาห์การสอบกลางภาค ) ( สัปดาห์การสอบปลายภาค ) สัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 17 60 %
3 บทที่ 1 - บทที่ 7 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา - ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ ( กิจกรรมในห้องเรียน ) ตลอดทั้งภาคเรียน 10 %
4 บทที่ 1 - บทที่ 7 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน ( การนำเสนอ กลุ่ม ) ตลอดทั้งภาคเรียน 10 %
5 บทที่ 1 - บทที่ 7 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน ( การนำเสนอ เดี่ยว ) ตลอดทั้งภาคเรียน 5 %
6 บทที่ 1 - บทที่ 7 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะด้านการปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพ - ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน ( การนำเสนอ กลุ่ม ) ( การนำเสนอ เดี่ยว ) ตลอดทั้งภาคเรียน 5 %
- สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2556. ความรู้ด้านการอนุรักษ์ คุ้มครองแหล่งมรดกโลก สำหรับเยาวชน. กรุงเทพฯ : บริษัท โมโนกราฟ สตูดิโอ จำกัด.
- ตัวอย่าง
- YouTube
- เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านแชทกลุ่มไลน์ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ