การเป็นผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี
Accounting Profession Entrepreneuship
1. เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจถึงคุณลักษณะและปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการเป็นผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี
2. เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจถึงกระบวนการ ขั้นตอน มาตรฐานการควบคุมคุณภาพทางวิชาชีพบัญชีประเภทของการให้บริการทางวิชาชีพบัญชี รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งธุรกิจทางวิชาชีพบัญชี
3. เพื่อฝึกหัดให้นักศึกษานำแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ ความรู้เกี่ยวกับหลักการทางบัญชี ความรู้ด้านศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชีไปใช้ในการเป็นผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี
2. เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจถึงกระบวนการ ขั้นตอน มาตรฐานการควบคุมคุณภาพทางวิชาชีพบัญชีประเภทของการให้บริการทางวิชาชีพบัญชี รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งธุรกิจทางวิชาชีพบัญชี
3. เพื่อฝึกหัดให้นักศึกษานำแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ ความรู้เกี่ยวกับหลักการทางบัญชี ความรู้ด้านศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชีไปใช้ในการเป็นผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี
2.1 เพิ่มกิจกรรมในห้องเรียนเพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานให้บริการด้านวิชาชีพบัญชีจากสถานการณ์ตัวอย่าง เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ทฤษฎีที่เรียนมาใช้ในการปฏิบัติงานจริงได้
2.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน และแสดงความคิดเห็นต่อวิธีการสอนของอาจารย์เพื่อนำไปเป็นข้อมูลในการพัฒนาและปรับปรุงรายวิชา โดยผ่านช่องทางออนไลน์
2.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน และแสดงความคิดเห็นต่อวิธีการสอนของอาจารย์เพื่อนำไปเป็นข้อมูลในการพัฒนาและปรับปรุงรายวิชา โดยผ่านช่องทางออนไลน์
แนวคิด ทัศนคติ และแรงจูงใจของผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี คุณลักษณะและปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การแสวงหาและประเมินโอกาสทางธุรกิจ ขั้นตอนการเริ่มต้นทำธุรกิจใหม่ การจัดทำแผนธุรกิจ รวมทั้งกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งและการดำเนินงาน (Accounting Office Entrepreneur) มาตรฐานการควบคุมคุณภาพทางวิชาชีพ ประเภทของการให้บริการทางวิชาชีพบัญชี เทคนิคและวิธีการในการให้บริการงานวิชาชีพบัญชี การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการกับผู้รับบริการ
อาจารย์ประจำรายวิชา ให้คำปรึกษาผ่าน Facebook ได้ตลอดเวลา อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1. มีความรู้ และความเข้าใจในหลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพบัญชี
2. สามารถประยุกต์หลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
3. แสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ระมัดระวังรอบคอบในการทำงานและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
2. สามารถประยุกต์หลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
3. แสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ระมัดระวังรอบคอบในการทำงานและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีในเนื้อหาวิชาเรียน
2. ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฎิบัติตามระเบียนข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
3. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาที่แสดงถึงการมีเมตตา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
4. การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
2. ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฎิบัติตามระเบียนข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
3. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาที่แสดงถึงการมีเมตตา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
4. การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
1. สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาจากการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานตามเวลาที่กำหนด และความพร้อมเพียงในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
3. ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
4. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
2. ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
3. ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
4. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
1. มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการปฏิบัติด้านการบัญชี เพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน
2. มีความรู้ ความเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน
3. มีความรู้และความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
4. มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพบัญชี
2. มีความรู้ ความเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน
3. มีความรู้และความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
4. มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพบัญชี
1) การเรียนการสอนที่เน้นสมรรถนะมีการบรรยาย การฝึกปฏิบัติและมุ่งเน้นวิธีการปฏิบัติที่ทำให้ผู้เรียนมีทักษะการปฏิบัติงานได้จริงจากการเรียนรู้
2) การเรียนการสอนที่เน้นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มุ่งเน้นวิธีการให้ผู้เรียนศึกษาและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากการมอบหมายงานให้ฝึกปฏิบัติ
3) การสอนแบบบรรยายและอภิปราย มุ่งเน้นการถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน มุ่งสร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้เรียนโดยการตั้งคำถาม ให้คิดวิเคราะห์เพื่อการค้นหาคำตอบที่ผู้เรียนต้องการเรียนรู้และจำเป็นต่อการศึกษาความรู้ที่ทันสมัยด้วยตนเองเป็นหลัก
2) การเรียนการสอนที่เน้นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มุ่งเน้นวิธีการให้ผู้เรียนศึกษาและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากการมอบหมายงานให้ฝึกปฏิบัติ
3) การสอนแบบบรรยายและอภิปราย มุ่งเน้นการถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน มุ่งสร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้เรียนโดยการตั้งคำถาม ให้คิดวิเคราะห์เพื่อการค้นหาคำตอบที่ผู้เรียนต้องการเรียนรู้และจำเป็นต่อการศึกษาความรู้ที่ทันสมัยด้วยตนเองเป็นหลัก
1) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
2) ตรวจสอบงานที่ได้รับมอบหมายทั้งแบบฝึกหัดและกรณีศึกษาพิเศษ
3) สังเกตพฤติกรรมการเรียนและการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ทั้งการถามตอบในชั้นเรียนและการทำแบบฝึกหัด
2) ตรวจสอบงานที่ได้รับมอบหมายทั้งแบบฝึกหัดและกรณีศึกษาพิเศษ
3) สังเกตพฤติกรรมการเรียนและการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ทั้งการถามตอบในชั้นเรียนและการทำแบบฝึกหัด
1 มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
2 มีความสามารถในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3 มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพบัญชีและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้เท่ากันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
4 มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติงานทางบัญชีในเรื่องที่มีความสำคัญต่อองค์กร และสามารถแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
2 มีความสามารถในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3 มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพบัญชีและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้เท่ากันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
4 มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติงานทางบัญชีในเรื่องที่มีความสำคัญต่อองค์กร และสามารถแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
1) การบรรยาย การฝึกปฏิบัติ การยกตัวอย่าง กรณีศึกษา และการถามตอบในชั้นเรียน
2) เปิดโอกาสให้นักศึกษาค้นคว้าและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2) เปิดโอกาสให้นักศึกษาค้นคว้าและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
1) งานที่มอบหมาย
2) การสอบวัดผลในรายวิชา
3) การประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่นำเสนอหน้าชั้นเรียน
2) การสอบวัดผลในรายวิชา
3) การประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่นำเสนอหน้าชั้นเรียน
1 มีความอดทน ความรับผิดชอบ ทักษะทางสังคม และจิตสาธารณะ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ วัฒนธรรมองค์กรและการทำงานร่วมกับผู้อื่น
2 มีหลักคิดและวิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ สามารถทำให้สำเร็จตามเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
3 มีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพการบัญชี
2 มีหลักคิดและวิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ สามารถทำให้สำเร็จตามเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
3 มีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพการบัญชี
1) กำหนดหัวข้อให้นักศึกษาทำงานกลุ่มเพื่อเรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้อื่น
2) ให้นักศึกษาจัดทำสื่อประกอบรายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2) ให้นักศึกษาจัดทำสื่อประกอบรายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
1) ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงานของนักศึกษา
2) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาเป็นรายบุคคลและพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม
2) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาเป็นรายบุคคลและพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม
1 มีความสามารถในการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมทั้งการใช้ความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคในการวางแผนงาน การควบคุม การประเมินผล และการรายงานผล ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
2 มีความสามารถในการปฏิบัติงานและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีโดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพบัญชีให้มีประสิทธิภาพ
3 มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียนโดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์
2 มีความสามารถในการปฏิบัติงานและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีโดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพบัญชีให้มีประสิทธิภาพ
3 มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียนโดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์
1) มอบหมายงานเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติและพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในปัจจุบัน เช่น การค้นคว้าด้วยตนเองทางสื่อออนไลน์ หรือการจัดทำและนำเสนอโดยการใช้ PowerPoint
2) จัดทำสื่อประกอบการรายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2) จัดทำสื่อประกอบการรายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
1) ประเมินผลงานจากสื่อประกอบการรายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยใช้รูปแบบที่เหมาะสมและทันสมัย
2) ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอและการอภิปรายผล
2) ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอและการอภิปรายผล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม | 2.ด้านความรู้ | 3.ด้านทักษะปัญญา | 4.ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | BACAC152 | การเป็นผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2,3 | ประเมินจากงานที่มอบหมายระหว่างเรียน การค้นคว้า การนำเสนอ ประเมินผลจากการสอบเขียนและการฝึกปฏิบัติ | 9,11,18 | 60 |
2 | 2,3,4,5 | ประเมินจากโครงงานกลุ่มที่มอบหมาย การนำเสนอรายงาน สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน | 17 | 25 |
3 | 1 | สังเกตพฤติกรรม การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการสอบและการทำงาน ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย | ทุกสัปดาห์ | 15 |
จรัสศรี โนมี.เอกสารประกอบการสอน.2565
เว็ปไซต์ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ www.tfac.or.th
page facebook ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี
page facebook ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี
ารประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะช่องออนไลน์ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะช่องออนไลน์ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์และงานวิจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์และงานวิจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง