หลักการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
Principle of Fashion, Textile, and Jewelry Design
1.1 เพื่อให้รู้และเข้าใจประเภทของการออกแบบชนิดต่างๆ
1.2 เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1.3 เพื่อให้รู้และเข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคและจิตวิทยาในการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1.4 เพื่อให้รู้และเข้าใจแนวโน้มของการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1.5 เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับนักออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1.6 เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1.7 เพื่อให้มีความตระหนักถึงคุณค่าในงานออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1.2 เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1.3 เพื่อให้รู้และเข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคและจิตวิทยาในการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1.4 เพื่อให้รู้และเข้าใจแนวโน้มของการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1.5 เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับนักออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1.6 เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1.7 เพื่อให้มีความตระหนักถึงคุณค่าในงานออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจพื้นฐานด้านการออกแบบ เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานทางด้านงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนออนไลน์ผ่านโปรแกรม Ms Teams หรือการเรียนในชั้นเรียน รวมถึงในรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาความหมาย ความสำคัญ และหลักการเบื้องต้นในการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ พฤติกรรมและจิตวิทยาผู้บริโภคด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่อง ประดับ กระบวนการออกแบบ การออกแบบแนวอนุรักษ์ สมัยใหม่ และร่วมสมัย แนวโน้มการออกแบบ นักออกแบบแฟชั่น
สิ่งทอ และเครื่องประดับ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
Study definition, importance, and principles of fashion, textile, and jewelry design; consumer behavior and psychology; design process; conservation, modern, and contemporary design; design trends; fashion, textile, and jewelry designers; technology and innovation for designing fashion, textile, and jewelry.
สิ่งทอ และเครื่องประดับ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
Study definition, importance, and principles of fashion, textile, and jewelry design; consumer behavior and psychology; design process; conservation, modern, and contemporary design; design trends; fashion, textile, and jewelry designers; technology and innovation for designing fashion, textile, and jewelry.
3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งรายละเอียดในการให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน
3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
บรรยายออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams และสอดแทรกเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพรวมถึงความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทางด้านหลักการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ขณะอยู่ในชั้นเรียน เช่น การเข้าชั้นเรียน การตรงเวลาในการส่งงานศึกษาค้นคว้า และปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
2) มีความสามารถในการค้นคว้า แก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
1) สอนแบบบรรยายระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams และสอนการแก้ปัญหาโดยกำหนดประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง โดยให้นักศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากเนื้อหาทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ เครื่องประดับ นอกชั้นเรียน
2) สอนแบบบรรยายระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ในเนื้อหาทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น เครื่องประดับ ในบริบทของสังคม ทุนวัฒนธรรม และเศรษฐกิจปัจจุบัน
2) สอนแบบบรรยายระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ในเนื้อหาทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น เครื่องประดับ ในบริบทของสังคม ทุนวัฒนธรรม และเศรษฐกิจปัจจุบัน
1) สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
4) มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
4) มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
สอนแบบบรรยายและยกตัวอย่างสถานการณ์ เหตุการณ์ ต่างๆ ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Team ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ เครื่องประดับ แล้วนักศึกษาอภิปรายเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม เพื่อนำเสนอในชั้นเรียน หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
วัดผลระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams จากการประเมินจากการนำเสนอผลงานของนักศึกษา
2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา แลเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา แลเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอนแบบบรรยายระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แล้วมอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติมเนื้อหาทางด้านหลักการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ เครื่องประดับ ด้วยตนเองแบบรายกลุ่ม แล้วแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ของการศึกษาค้นคว้าเนื้อหา รวมถึงพฤติกรรมที่แสดงออกต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานหลักการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ เครื่องประดับ ได้อย่ามีประสิทธิภาพ
3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลขหรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลขหรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
สอนแบบบรรยายระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แล้วมอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วแนะนำรูปแบบการเสนอโดยใช้รูปแบบสารสนเทศและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากผลงานศึกษาค้นคว้า ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams รูปแบบของสารสนเทศที่เหมาะสมในการนำเสนองานทางด้านหลักการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ เครื่องประดับ เช่น ความถูกต้องของข้อมูลและตัวเลข
เนื่องจากเป็นวิชาทฤษฎีล้วน จึงไม่ผลการเรียนรู้ทางด้านทักษะพิสััย
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | BAATJ153 | หลักการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1 ความรู้ | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | สอบกลางภาค สัปดาห์ 9 สอบปลายภาค สัปดาห์ 17 | ร้อยละ 30 |
2 | 2.1 ความรู้ 3.1 ทักษะทางปัญญา 4.1 ทักษะความรับผิดชอบระหว่างบุคคล ฯ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขฯ | 2.1 การอภิปรายระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams 2.2 รายงานการนำเสนอระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 30 |
3 | 1.1 คุณธรรม จริยธรรม | 3.1 การเข้าชั้นเรียนระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams 3.2 การแต่งกาย 3.3 การส่งงานตามเวลาที่กำหนดระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Team | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 10 |
1.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ .(2548). ความคิดสร้างสรรค์ Creative thinking. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2. พรสนอง วงศ์สิงห์ทอง. (2559). ประวัติศาสตร์การออกแบบอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
3. พวงผกา คุโรวาท. (2540). คู่มือประวัติเครื่องแต่งกาย. กรุงเทพฯ : รวมสาส์น.
4. รสชง ศรีลิโก. (2557). เครื่องประดับ. ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 34 เรื่องที่ 4 (e-book), ค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562.
จาก http://kanchanapisek.or.th/kp6
5. สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ. (2561). เครื่องประดับอัตลักษณ์ มรดกอัน
ทรงคุณค่าของไทย. ค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562. จาก https://www.git.or.th/information
_services.html
6. Richard Sorger and Jenny Udale. (2006). The Fundamentals of Fashion Design. London,
United Kingdom, Thames & Hudson.
7. Andrew Reilly. (2014). Key Concept for The Fashion Industry. London, United Kingdom,
Bloomsbury Academic.
8. Bootcamp Bootleg. (2015). 1st ed. Institute of Design at Stanford.
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2. พรสนอง วงศ์สิงห์ทอง. (2559). ประวัติศาสตร์การออกแบบอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
3. พวงผกา คุโรวาท. (2540). คู่มือประวัติเครื่องแต่งกาย. กรุงเทพฯ : รวมสาส์น.
4. รสชง ศรีลิโก. (2557). เครื่องประดับ. ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 34 เรื่องที่ 4 (e-book), ค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562.
จาก http://kanchanapisek.or.th/kp6
5. สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ. (2561). เครื่องประดับอัตลักษณ์ มรดกอัน
ทรงคุณค่าของไทย. ค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562. จาก https://www.git.or.th/information
_services.html
6. Richard Sorger and Jenny Udale. (2006). The Fundamentals of Fashion Design. London,
United Kingdom, Thames & Hudson.
7. Andrew Reilly. (2014). Key Concept for The Fashion Industry. London, United Kingdom,
Bloomsbury Academic.
8. Bootcamp Bootleg. (2015). 1st ed. Institute of Design at Stanford.
2.1 แนวโน้มการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
2.2 หลักการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
2.2 หลักการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
3.1 เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านหลักการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
3.2 เอกสารแผ่นพับ สุจิบัตร นิทรรศการ พิพิธภัณฑ์ ศูนย์ องค์กร ที่เกี่ยวกับการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
3.2 เอกสารแผ่นพับ สุจิบัตร นิทรรศการ พิพิธภัณฑ์ ศูนย์ องค์กร ที่เกี่ยวกับการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอนระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอนระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน คือกิจกรรมการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมอง และความรู้ที่หลากหลาย
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมอง และความรู้ที่หลากหลาย