การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุขั้นสูง

Advance Object Oriented Programming

1. ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคการพัฒนาโปรแกรมโดยใช้หลักการและแนวคิดเชิงวัตถุ 2. พัฒนาโปรแกรมโดยอาศัยหลักพื้นฐานของการออกแบบเชิงวัตถุ ได้แก่ การกำหนดคลาสและชนิดข้อมูล 3. เข้าใจการถ่ายทอดคุณลักษณะของคลาส 4. เข้าใจการควบคุมการเข้าถึงข้อมูล 5. เข้าใจกรรมวิธีโพลีมอร์ฟิซึ่ม โอเวอร์โหลดดิงส์และโอเวอร์ไรดิงส์ 6. พัฒนาโปรแกรมเพื่อติดต่อกับฐานข้อมูล 7. เข้าใจวิธีกำหนดข้อมูลในรูปแบบต่างๆ การใช้คำสั่งต่างๆ 8. สร้างส่วนปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้และการใช้คําสั่งเกี่ยวกับการป้อนข้อมูลเข้าและการแสดงผลลัพธ์ข้อมูล 9. เข้าใจรูปแบบการเขียนโปรแกรมเพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์โดยเน้นฝึกทักษะการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคการพัฒนาโปรแกรมโดยใช้หลักการและแนวคิดเชิงวัตถุ พัฒนาโปรแกรมโดยอาศัยหลักพื้นฐานของการออกแบบเชิงวัตถุ ได้แก่ การกำหนดคลาสและชนิดข้อมูล การถ่ายทอดคุณลักษณะของคลาส การควบคุมการเข้าถึงข้อมูล กรรมวิธีโพลีมอร์ฟิซึ่ม โอเวอร์โหลดดิงส์และโอเวอร์ไรดิงส์ การเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับฐานข้อมูล วิธีกำหนดข้อมูลในรูปแบบต่างๆ การใช้คำสั่งต่างๆ การสร้างส่วนปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้และการใช้คําสั่งเกี่ยวกับการป้อนข้อมูลเข้าและการแสดงผลลัพธ์ข้อมูล รูปแบบการเขียนโปรแกรมเพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์โดยเน้นฝึกทักษะการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
1
2.  มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 
ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 6. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
1.  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ 2.  ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 3.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (ทฤษฎีและปฏิบัติ) 2. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงานการทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 3. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป 4. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
1. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ จากกรณีศึกษา (งานที่ได้รับมอบหมาย) 2. กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผน การทำงานเป็นทีม 3. การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน  4. การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง 5. การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
1. ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา  2. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา 3. ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
6. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
1. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
1. พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 2. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
4. มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มีเนื้อหาของเครื่องมือที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุที่ทันสมัย
การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 6. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4. มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2. มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 6. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 3. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป 4. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
1 BBAIS212 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุขั้นสูง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 เชคชื่อ ตรวจเครื่องแต่งกาย ทุกสัปดาห์ 10
2 2.1, 2.2, 3.1, 3.3, 3.4, 5.4 สอบทฤษฎี ครั้งที่ 1 8 15
3 2.1, 2.2, 3.1, 3.3, 3.4, 5.4 สอบปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 8 15
4 2.1, 2.2, 3.1, 3.3, 3.4, 5.4 สอบทฤษฎี ครั้งที่ 2 15 15
5 2.1, 2.2, 3.1, 3.3, 3.4, 5.4 สอบปฏิบัติการ ครั้งที่ 2 15 15
6 4.6 งานที่ได้รับมอบหมาย (ทฤษฏี, ปฏิบัติ) ทุกสัปดาห์ 30
เว็บไซต์ E-Learning ของมหาวิทยาลัย
ธีรวัฒน์ ประกอบผล. 2556. คู่มือการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุภาษา JAVA OOP ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : รีไวว่า. รังสิต ศิริรังษี. 2556. แนวคิดเชิงวัตถุด้วยจาวา. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้. วรเศรษฐ สุวรรณิก และ ทศพล ธนะทิพานนท์. 2549. เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. สุดา เธียรมนตรี. 2555. คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา Java ฉบับสมบูรณ์. นนทบุรี : ไอดีซี พรีเมียร์.
Bootstrap, https://getbootstrap.com/
Java OOP, https://docs.oracle.com/javase/tutorial/java/concepts/index.html
Angular, https://angular.io/
CodeIgniter, https://codeigniter.com/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 3. ข้อเสนอแนะผ่านระบบสังคมออนไลน์ (Social Network)  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 1. แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุง ดังนี้ 1. ปรับหัวข้อ และ ระยะเวลาในการสอนให้เหมาะสมกับการเรียนการสอน 2. ปรับปุรงเนื้อหา ให้เหมาะสมกับ การเรียนการสอน  
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ มีการตั้งคณะกรรมการในหลักสูตร ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยใช้แบบสอบถามประเมินผลการเรียนรู้ และ/หรือตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ