สถิติและการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติในงานวิจัยอาหาร

Statistics and the Use of Statistical Package in Food Research

1.1 เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงหลักการพื้นฐาน ความหมาย ขอบเขตและประโยชน์ของสถิติ
1.2 เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงหลักเบื้องต้นของความน่าจะเป็น การสุ่มตัวอย่าง
1.3 เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงหลักการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย การวางแผน
การทดลอง
1.4 เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงหลักการวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
สถิติพื้นฐานในงานวิจัยอาหาร การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวางแผนการทดลองแบบสุ่ม สมบูรณ์ การวางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ การวางแผนการทดลองแบบ แฟคทอเรียล การประยุกต์ใช้โปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่องานวิจัย ทางอาหาร วิธีการสรุปผลการทดลอง
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ



 
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัติตนในด้านต่าง ๆ ได้แก่

การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
 

มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชา ที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
โดยมุ่งเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติ
 

การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน รายงานที่นักศึกษาจัดทำ

งานที่ได้มอบหมาย
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆ กรณีศึกษาเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง
การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่างๆ การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
 

สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
(1)   สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
(2)   มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
 

พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
 

เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
 

ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงาน
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 1 2 3 1 2 3 1 2
1 FUNMA122 สถิติและการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติในงานวิจัยอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - มีความรู้และความเข้าใจหลักการและทฤษฎี - บูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ตลอดสัปดาห์, 9 และ 16 30, 45, 45
     1.1 ภัทรสินี ภัทรโกศล. 2550. สถิติเพื่อการวิจัยทางวิทยาศาสตร์. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
     2.1 พิศมัย หาญมงคลพิพัฒน์. 2553. สถิติและการวางแผนการทดลองทางเกษตร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
3.1 http://ebook.lib.ku.ac.th/ereading/ebooks/books/rg0055/index.html#/4/zoomed หลักการวางแผนการทดลอง
3.2 ตัวอย่างงานวิจัยตีพิมพ์จากวารสารต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจเนื้อหาได้มากยิ่งขึ้น
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย 
การประเมินการสอน โดยใช้แบบสอบถามกับนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา 
ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน
พิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายวิชา และสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป