การบัญชีชั้นสูง 2

Advanced Accounting 2

เพื่อศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ การบัญชีสำหรับบริษัทร่วม บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยและกิจการร่วมค้า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การทำงบการเงินรวม งบกระแสเงินสดรวม การบัญชีเกี่ยวกับการปรับโครงสร่างหนี้ที่มีปัญหาและกิจการที่มีปัญหายุ่งยากทางการเงิน และการบัญชีกองทุนและกิจการไม่หวังผลกำไร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ การบัญชีสำหรับบริษัทร่วม บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยและกิจการร่วมค้า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การทำงบการเงินรวม งบกระแสเงินสดรวม การบัญชีเกี่ยวกับการปรับโครงสร่างหนี้ที่มีปัญหาและกิจการที่มีปัญหายุ่งยากทางการเงิน และการบัญชีกองทุนและกิจการไม่หวังผลกำไร
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ การบัญชีเกี่ยวกับการรวมธุรกิจ การลงทุนในบริษัทร่วมและบริษัทย่อย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การบัญชีสำหรับส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า การทำงบการเงินรวมและงบกระแสงเงินสดรวม
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์)
 
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
2. สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 3. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2) การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 3) การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
 
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
 
Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์)
 
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 3. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่กระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
1. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
Brilliance ความเฉลียวฉลาด (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
 
บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถสืบค้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผล
4. การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน 5. การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
6. ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน 7. ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง 8. ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
Learning การเรียนรู้ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
 
บัณฑิตมีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
5. มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา 6. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
 พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา ü สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์)
 
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวาง และเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
5. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้ 6. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ü 1. การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
3. พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
 ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
(ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552)
 
บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
 
3. ความเข้าใจเกี่ยวกับการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ การบัญชีสำหรับบริษัทร่วม บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยและกิจการร่วมค้า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การทำงบการเงินรวม งบกระแสเงินสดรวม การบัญชีเกี่ยวกับการปรับโครงสร่างหนี้ที่มีปัญหาและกิจการที่มีปัญหายุ่งยากทางการเงิน และการบัญชีกองทุนและกิจการไม่หวังผลกำไร
การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม นักศึกษาสามารถใช้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะในการวิเคระาห์เชิงตัวเลขการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3
1 BACAC140 การบัญชีชั้นสูง 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน 1 2.1.1 5.1.1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 8 17 2 2.1.2 , 3.1.1 3.1.2 , 4.1.1 4.1.2 , 5.1.3 6.1.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ - งานที่มอบหมาย / รายงาน (กลุ่ม) - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) - การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน (กลุ่ม) ตลอดภาคการศึกษา 16 3 1.1.1 , 1.1.2 การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 3. เกณฑ์ผ่านรายวิชา ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้อง 3.1 มีเวลาเข้าชั้นเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน 3.2 ได้คะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวม 4. เกณฑ์การประเมิน การประเมินผ่านรายวิชา ใช้วิธีอิงเกณฑ์ โดยกำหนดค่าระดับคะแนนร้อยละตามเกณฑ์ ดังนี้ คะแนนร้อยละ 80-100 ได้ ก หรือ A คะแนนร้อยละ 75-79 ได้ ข+ หรือ B+ คะแนนร้อยละ 70-74 ได้ ข หรือ B คะแนนร้อยละ 65-69 ได้ ค + หรือ C+ คะแนนร้อยละ 60-64 ได้ ค หรือ C คะแนนร้อยละ 55-59 ได้ ง+ หรือ D+ คะแนนร้อยละ 50-54 ได้ ง หรือ D คะแนนร้อยละ ต่ำกว่า 50 ได้ จ หรือ F ตลอดภาคการศึกษา สอบกลางภาค 35 คะแนน สอบปลายภาค 35 ่คะแนน วิเคราะห์กรณีศึกษา 20 คะแนน จิตพิสัย 10 คแนน
อัจฉราภรณ์ พูลยิ่ง. (2564). การบัญชีชั้นสูง 2. พิมพ์ครั้งที่ 4. ต้นฉบับการพิมพ์ : น่าน. 418 หน้า
มาตรฐานรายงานทางการเงิน จากสภาวิชาชีพบัญชี
วารสารวิชาชีพบัญชี
-
-ประเมินการสอนจากการเข้าเรียน ความสนใจ การตอบคำถามในชั้นเรียน การถามข้อซักถาม ในประเด็นใหม่ๆ ที่นักศึกษายังไม่เข้าใจ
นำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ปรับปรุง 256ุ6  มาปรับให้มีความทันสมัย 
โจทย์ตัวอย่างพร้อมเฉลย จากหนังสือการบัญชี 1 และ 2 ปรับปรุงล่าสุด ของ อ.สมศักดิ์ ปฐมศรีเม"
นอกจากนี้ ได้อ้างอิงหนังสือ จากการบัญชี ชั้นกลาง 1 และ 2 ซึ่งเขียนโดย   อ.ศิลปพร  ศรีจั่นเพชร และคณะ  เพื่อความเข้าใจ และสามารถ เกริ่นเนื้อหาตั้งแต่ การบัญชี ชั้นกลาง 2 
และต่อยอด มายังการควบรวมธุรกิจในรูปแบบต่างๆ  รวมรายการตัดบัญชีในกรณีต่่างๆ เพื่อสร้างความเข้าใจอันดี ให้กับนักศึกษา
มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ โดย อ.ผู้รับผิดชอบ จัดทำแบบฟอร์ม ออนไลน์ ให้นักศึกษา กรอก และสรุปผล แจ้งให้กับ อ.ผู้สอนทราบ เพื่อนำไปปรับปรุง รายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
สอบถามนักศึกษาอยากให้ อ.ออนทีม พร้อมกับสอนในห้อง เพื่อกลับมาอ่านทบทวนในเนื้อหา ให้มีความเข้าใจมากยิ่งขึ้น