ภูมิอากาศพืชและการจัดการน้ำ

Plant Climate and Water Management

เพื่อให้ผู้เรียนสามารถรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับภูมิอากาศและน้ำในการผลิตพืช ความสัมพันธ์ระหว่าง ภูมิอากาศ ดิน น้ำและพืช ได้
เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติระบบชลประทานในการผลิตพืชและการประเมิน ประสิทธิภาพการใช้น้ำในการผลิตพืชได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับภูมิอากาศและน้ำในการผลิตพืช ความสัมพันธ์ระหว่าง ภูมิอากาศ ดิน น้ำและพืช ระบบชลประทานในการผลิตพืชและการประเมิน ประสิทธิภาพการใช้น้ำในการผลิตพืช
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG112 ภูมิอากาศพืชและการจัดการน้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 3.1, 5.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 3.5 การสอบกลางภาค 9 25%
3 1.3, 2.1,2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 การสอบปลายภาค 17 25%
4 1.3, 2.3, 3.1, 3.2, 4.3, 5.3, 6.1 บทปฏิบัติการ และรายงาน ตลอภาคการศึกษา 40%
-สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.). 2561. คู่มือการออกแบบระบบน้ำฉบับประชาชน https://pubhtml5.com/ahit/cuub/basic
-กรมชลประทาน. 2560. คู่มือการปฏิบัติงาน การสำรวจการชลประทาน http://www.rid5.net/upload/wm/35.pdf
-สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน). 2560. คู่มือการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ตามแนวพระราชดำริด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. https://www.hii.or.th/
 
 
- กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ https://www.rid.go.th/images/cover/index.html
- กรมทรัพยากรน้ำบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  http://www.dgr.go.th/th/intro
- กรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม https://www.tmd.go.th/
- กรมฝนหลวงและการบินเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ https://www.royalrain.go.th/
- คณาจารย์ภาควิชาพืชไร่นา. 2547. พืชเศรษฐกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
- คณาจารย์ภาควิชาพืชไร่นา. 2542. พฤกษศาสตร์พืชเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
- ชนากานต์ เทโบลต์ พรมอุทัย. 2559. สรีรวิทยาพืชไร่. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ https://www.oae.go.th 
- สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ https://www.doa.go.th/fcri  
- กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ https://www.ricethailand.go.th
- สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม http://www.ocsb.go.th
- การยางแห่งประเทศไทย https://www.raot.co.th 
- สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) https://www.hrdi.or.th
- มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย https://tapiocathai.org  
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน-การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข 
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา ในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุง พร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป